ทักษะทางดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร

ผู้แต่ง

  • พิศิษฐ ขาวจันทร์, อุษณีย์ แสงสุข, สุนทร กุมรีจิต, วีระวัฒน์ พิณโท, สำเร็จ ธงศรี และศุภกิจ จันทร์ตรี -

คำสำคัญ:

ทักษะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา, การจัดการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีของโรงเรียน

บทคัดย่อ

การจัดการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา         ศรีสะเกษ ยโสธร จำเป็นต้องอาศัยความรอบรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา งานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาทักษะทางดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ในโรงเรียน ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างผู้บริหารและครูจำนวน 238 คน และนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถยอพหุคูณแบบ Enter

ผลวิจัยชี้ให้เห็นว่า องค์ประกอบทักษะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอิทธิพลในการพยากรณ์การจัดการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในสถานศึกษาของครูได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีเพียงองค์ประกอบคือ ความรอบรู้ด้านคอมพิวเตอร์และสื่อโดยมีคะแนนมาตรฐานที่ -.17 กับมีผลทดสอบ t = -2.22 (Sig. 027) รวมถึง มีสัมประสิทธิ์ถดถอยที่ R2 = 04 มีค่าแปรปรวนที่ F = 2.78 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (Sig .027) อีกทั้งมีค่า Durbin-Watson =.97 (< 1.50) ผลการวิจัยยืนยันว่า การพัฒนาทักษะด้านความรอบรู้คอมพิวเตอร์และสื่อของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นแนวทางเดียวในการปรับปรุงการจัดการสนับสนุนเทคโนโลยีของโรงเรียน

References

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.

ภัตราภรณ์ ปัมคัมม์ และอภัย สบายใจ. (2565). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับการประยุกต์ใช้ e-learning ในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3, TAM 2022, 1220-1240.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอํานาจเจริญ. (2567). รายงานผลการดำเนินงาน ประจําปี

งบประมาณ พ.ศ. 2566. สืบค้นจาก

https://drive.google.com/file/d/1OioSuSFd3KX0-J-u-TUOilUIf2foiEAJ/view

อารีรัตน์ มณีกรรณ์ และสมานจิต ภิรมย์รื่น. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชนกับความพร้อมจัดการศึกษาแบบออนไลน์ ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี, TAM 2022, 1124-1135.

Arbaugh, J. B, & Benbunan-Fich, R. (2006). An investigation of epistemological and social

dimensions of teaching in online learning environments. Academy of Management Learning and Education, 5, 435-447.

Arbaugh, J. B., Godfrey, M. R., Johnson, M., Pollack, B. L., Niendorf, B., & Wresch, W. (2009). Research

in online and blended learning in the business disciplines: Key findings and possible future

directions. Internet and Higher Education, 12, 71-87.

Binkley, M. (2018). Defining 21st century skills, in P.E. Griffin, B. McGaw, E. Care (eds.), Assessment and Teaching of 21st Century Skills, 17-66.

Botero, G.G., Questier, F., Cincinnato, S., He, T., & Zhu, C. (2018). Acceptance and usage of mobile

assisted language learning by higher education students. J. Comput. High. Educ. 2018, 30,

–451.

Davis, F.D. (1986). A technology acceptance model for empirically testing new end-user information

systems: Theory and results. Doctoral thesis, Massachusetts Institute of Technology

Goodhue, D. L & Thompson, R. L (1995). Task-technology fit and individual performance. MIS

Quarterly, 19, 213-236.

Kadasala, N. R., Narayanan, B. & Liu, Y. (2016). International trade regulations on BPA: Global health and economic implications. Asian Development Policy Review, 4 (4), 134-142.

Mayer, R. E (2002). Multimedia learning. Psychology of Learning and Motivation, 41, 85–139.

Meier, C., Sachs, S., Stutz, C., & McSorley, V. (2017). Establishing a digital leadership barometer for small and medium enterprises (SME): 17-19 May 2017. Lublin: Management Challenges in a Network Economy; 2017.

Mumford, T., Campion, M., & Morgeson, F. (2007). The Leadership Skills Strataplex: Leadership

Skill Requirements across Organizational Levels. Leadership Quarterly, 18, 154-166.

Mustafa, N., & Zulhafizh. (2018). The use of technology to ensure the quality of teaching and learning: senior high-school teachers' perspective, Proceeding of the 2nd URICES, 2018 Pekanbaru, Indonesia, 765-771.

Piasecki, S. (2020). Gamification und digitalisierte Verwaltung. HMD. 2020, 57 (3): 399 412.

Reddy, P., Chaudhary, K., & Hussein, S. (2023). Research article A digital literacy model to narrow

the digital literacy skills gap. Contents lists available at ScienceDirect Hellion. Helion 9

(2023) e14878.

Rieder, A. (2014). Führungsstile-Reflexion und Erörterung wesentlicher Führungstheorien.

Perspektive Bibliothek. 2014: 144-64. https://doi.org/10.11 588 / pb.2014.2.16810.

Sun, P.C, Tsai, R. J, Finger, G. Chen, Y-Y., & Yeh, D. (2008). What drives a successful e-learning? An

empirical investigation of the critical factors influencing learner satisfaction. Computers

and Education, 50, 1183-1202.

Webster, J, & Hackley, P. (1997). Teaching effectiveness in technology-mediated distance learning.

Academy of Management Journal, 40, 1282-1309.

Wu, W., & Hwang, L.-Y. (2010). The effectiveness of e-learning for blended courses in colleges: A

multi-level empirical study. International Journal of Electronic Business Management, 8(4),

-322.

Zhang, Y., Wen, J., Qiuli, Q.I.N., Hao, Y.U. , Leminen, S., & Rajahonka, M., (2015). How smart,

connected products are transforming companies. Blog.Prossess.Com, 4 (4), 5-14.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2024-12-28