การการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคของยาหม่องสมุนไพร
คำสำคัญ:
ผู้บริโภคยาหม่องสมุนไพร, ยาหม่องสมุนไพร, พฤติกรรมผู้บริโภค, แรงจูงใจในการซื้อบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคยาหม่องสมุนไพร แรงจูงใจในการซื้อและเสนอแนวทางพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดและผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจำนวน 400 คน
ผลการวิจัยพบว่ายาหม่องชนิดขี้ผึ้งเป็นที่นิยมสูงสุด โดยใช้บรรจุภัณฑ์แบบขวดแก้วหรือขวดพลาสติก การใช้งานส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบการทา ผู้บริโภคชอบกลิ่นเปเปอร์มิ้นต์และมักซื้อเพื่อใช้เอง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อได้แก่คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ราคาและความเชื่อมั่นในแบรนด์ ส่วนใหญ่ตัดสินใจซื้อด้วยตนเอง สถานที่ซื้อนิยมคือร้านสะดวกซื้อและอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลหลัก แรงจูงใจสำคัญคือคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ (ปัจจัยดึงดูด) และความจำเป็นด้านสุขภาพ (ปัจจัยผลักดัน) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของคุณภาพ บรรจุภัณฑ์ และกลยุทธ์การส่งเสริมการขาย งานวิจัยนี้จึงนำเสนอแนวทางสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกลยุทธ์การตลาดเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
References
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2564). มูลค่าตลาดสินค้าสมุนไพร. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2567, จาก https://ditp.go.th/ditp_web61/article_sub_view.php?filename=contents_attach/739096/739096.pdf &title=739096&cate=1143&d=0
ฐาปานีย์ กรณพัฒน์ฤชวี, & ภัทรฤทัย เกณิกาสมานวรคุณ. (2562). การส่งเสริมการขายที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ สมุนไพรของผู้บริโภค. วารสารการตลาด, 15(3), 89-103.
ปิยทัศน์ ใจเย็น, & ยุทธนา แยบคาย. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์สมุนไพรของประชาชนจังหวัดสุโขทัย. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 18(1), 122-134.
ปรียานุช แดงเดช. (2559). ผลกระทบของปัจจัยด้านราคาต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์บรรเทาอาการปวดที่ทำจากสมุนไพรใน เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจ, 19(4), 78-89.
วรรษมน สัจจพงษ์. (2560). ปัจจัยด้านแบรนด์และความเชื่อมั่นต่อการตัดสินใจซื้อยาสมุนไพรในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วารสาร การแพทย์แผนไทย, 24(1), 23-34.
สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า. (2560). เส้นทางเกษตรไทยก้าวต่อไปสู่เกษตรมูลค่าเพิ่ม. TPSO Journal, 7(66),
-12.
สุจินันท์ อินต๊ะ. (2553). ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์สมุนไพรของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยการบริหารธุรกิจ, 12(2), 45-60.
สุพัตรา คำแหง. (2565). นวัตกรรมการตลาดสมัยใหม่เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรท้องถิ่นของชุมชนบ้านวังไทร
อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารสยามวิชาการ, 23(1), 40-56.
Kotler, P. (2016). Marketing Management. New Jersey: Pearson Education.
Marketeer. (2016). Balm Market. Retrieved from https://marketeeronline.co/archives/24845
Monroe, K. B. (1990). Pricing: Making Profitable Decisions (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.
Solomon, M. R. (2018). Consumer Behavior: Buying, Having, and Being (12th ed.). New York: Pearson Education.
Workpoint. (2022). Thai balm has become the number 1 best seller in Lao PDR, accelerating further expansion of customers in CLMV countries. Retrieved from https://workpointtoday.com/clmv/