ตัวแบบสมการโครงสร้างความภักดีของนักท่องเที่ยวต่อแหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมทวารวดีเพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์แห่งภาคตะวันตก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลที่มีต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวต่อแหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมทวารวดี และเพื่อหาแนวทางในการสร้างความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมทวารวดี โดยการวิจัยเป็นแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า แรงจูงใจในการท่องเที่ยวมีอิทธิพลโดยตรงเชิงบวกต่อความพึงพอใจในการท่องเที่ยว ภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวมีอิทธิพลโดยตรงเชิงบวกต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวต่อแหล่งท่องเที่ยว ความพึงพอใจในการท่องเที่ยวมีอิทธิพลโดยตรงเชิงบวกต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวต่อแหล่งท่องเที่ยว และแรงจูงใจในการท่องเที่ยวมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวต่อแหล่งท่องเที่ยวผ่านความพึงพอใจในการท่องเที่ยว แนวทางในการสร้างความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว ควรดำเนินการในลักษณะของแผนงาน 3 ระดับ ได้แก่ แผนระยะที่ 1 แผนการยกระดับการท่องเที่ยวในการส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมทวารวดี แผนระยะที่ 2 แผนการส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมทวารวดี แผนระยะที่ 3 แผนการสร้างความยั่งยืนทางการท่องเที่ยว เพื่อจูงใจนักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่และการเพิ่มอัตราการกลับมาท่องเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยว ซึ่งจะส่งผลต่อการท่องเที่ยวและการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจให้มีความมั่งคั่งยั่งยืนรองรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว
Article Details
ลิขสิทธิ์ของบทความ
ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ห้ามมิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลงานไปทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยก่อน
References
Changsu, K., Robert D, G., Namchul, S., Joo-Han, R., & Jongheon, K. (2012). Factors influencing Internet shopping value and customer repurchase intention. Electronic Commerce Research and Applications, 11(4), 374-387.
Chen, C-F., & Chen, F-S. (2010). Experience quality, perceived value, satisfaction and behavioral intentions for heritage tourists. Tourism Management, 31(1), 29-35.
Chen, C. F., & Tsai, D. C. (2007). How destination image and evaluative factors affect behavioral intentions. Tourism Management, 28, 1115-1122.
Forgas-Coll, S., Palau-Saumell, R., Sánchez-García, J., & Callarisa-Fiol, L. J. (2012). Urban destination loyalty drivers and cross-national moderator effects: The case of Barcelona. Journal Tourism Management, 33, 1309-1320.
Gallarza, M. G., & Saura, I. G. (2006). Value dimensions, perceived value, satisfaction and loyalty: An investigation of university students’ travel behaviour. Tourism Management, 27(3), 437-452.
Hutchinson, J., Lai, F., & Wang, Y. (2009). Understanding the relationships of quality, value, equity, satisfaction, and behavioral intentions among golf travelers. Tourism Management, 30, 298-308.
Lien, C. H., & Cao, Y. (2014). Examining we chat users’ motivations, trust, attitudes, and positive word-of-mouth: Evidence from China. Computers in Human Behavior, 41, 104-111.
Lin, Y., Lee, Y., & Wang, S. (2012). Analysis of motivation, travel risk, and travel satisfaction of Taiwan undergraduates on work and travel overseas programmers. Tourism Management Perspectives, 2-3, 35–46.
López-Guzmán, T., Gálvez, J. C. P., & Muñoz-Fernández, G. A. (2018). Satisfaction, motivation, loyalty and segmentation of tourists in world heritage cities. Revista de Turismo y Patrimonio Cultural, 16(1), 73-86.
Loureiro, S. M. C., & Gonzalez, F. J. M. (2008). The importance of quality, satisfaction, trust, and image in relation to rural tourist loyalty. Journal of Travel and Tourism Marketing, 25(2), 117-136.
Mai, N. K., & Huynh, T. T. H. (2014). The influences of push and pull factors on the international leisure tourists’ return intention to Ho Chi Minh City, Vietnam: A mediation analysis of destination satisfaction. International Journal of Trade, Economics and Finance, 5(6), 490-496.
Myung, J., Namho, B., & Choong, K.L. (2011). The effect of perceived trust on electronic commerce: Shopping online for tourism products and services in South Korea. Tourism Management, 32(11), 256–265.
Ozturk, A. B., & Qu, H. (2008). The impact of destination images on tourists’ perceived value, expectations, and loyalty. Journal of Quality Assurance in Hospitality and Tourism, 9(4), 275-297
Patricia, M., & Ignacia, R. D. B. (2013). CSR and customer loyalty: The roles of trust, customer identification with the company and satisfaction. Journal of Hospitality Management, 35, 89-99.
Qu, H., Kim, L. H., & Im, H. H. (2011). A model of destination branding: Integrating the concepts of the branding and destination image. Tourism Management, 32, 464-476.
Sanghyun, K., & Hyunsun, P. (2013). Effects of various characteristics of social commerce (s-commerce) on consumers’ trust and trust performance. International Journal of Information Management, 33(2), 318-332.
Suki, N. M. (2014). Passenger satisfaction with airline service quality in Malaysia: A structural equation modeling approach. Research in Transportation Business & Management, 10, 26-32.
Yamane, T. (1967). Statistics, An introductory analysis. New York, NY: Harper and Row.
Yoon, Y., & Uysal, M. (2005). An examination of the effects of motivation and satisfaction on destination loyalty: A structural model. Tourism Management, 26, 45-56.
Zhang, X. (2012). The factors effecting Chinese tourist revisit Thailand destination (Unpublished master’s thesis). University of the Thai Chamber of Commerce, Bangkok.
Zhuangyu, L., Abdur, R., Banghong, Z., & Jianqiang, P. (2016). Analysis of the relationship between tourist motivation, satisfaction and loyalty for China special theme tourism. Asian Research Journal of Arts & Social Sciences, 1(5), 1-14.
รัชฎา จิรธรรมกุล. (2559). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรม ในชุมชนบ้านแขนน อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 17(31), 3-17.
วิวัฒน์ จันทร์กิ่งทอง. (2557). ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนกับความภักดีของนักท่องเที่ยว. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย, 34(2), 131-146.
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนและสร้างสรรค์ พ.ศ. 2561- 2565. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1. (2559). แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.