การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันแบบวัดพฤฒิพลัง ผู้สูงอายุไทยในสถานสงเคราะห์คนชรา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันแบบวัดพฤฒิพลังผู้สูงอายุไทย (The Active Ageing Scale for Thai people: AAS-Thai) ในสถานสงเคราะห์คนชรา และตรวจสอบความสอดคล้องโมเดลโครงสร้างองค์ประกอบแบบวัดพฤฒิพลังผู้สูงอายุไทยในสถานสงเคราะห์คนชรากับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน คัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือ ได้แก่ แบบวัดพฤฒิพลังผู้สูงอายุไทย ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ มีค่าความเชื่อมั่นภายในเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม LISREL 8.72 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับแรก พบค่าดัชนีทุกตัวผ่านเกณฑ์ น้ำหนักองค์ประกอบ 0.66 - 0.94 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 และผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง พบค่าดัชนีทุกตัวผ่านเกณฑ์ (= 379.38,
/df = 0.89, p-value = 0.93, CFI = 1.00, GFI = 0.94, AGFI = 0.91, RMR = 0.03, SRMR = 0.03 และ RMSEA = 0.00) น้ำหนักองค์ประกอบ 0.72 – 0.97 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 โดยองค์ประกอบที่มีค่าน้ำหนักเรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การร่วมกิจกรรมและทำประโยชน์ให้สังคม การพึ่งพาตัวเองได้ การเจริญทางปัญญา การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การมีวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพ การสร้างความมั่นคงด้านการเงิน และการสร้างความรักความผูกพันในครอบครัวเพื่อมีผู้ดูแลยามชรา ตามลำดับ ข้อมูลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่าแบบวัดพฤฒิพลังผู้สูงอายุไทยสามารถใช้เป็นเครื่องมือวัดพฤฒิพลังผู้สูงอายุไทยในสถานสงเคราะห์คนชรา
Article Details
ลิขสิทธิ์ของบทความ
ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ห้ามมิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลงานไปทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยก่อน
References
ธนัญพร พรมจันทร์. (2556). ภาวะซึมเศร้า ความว้าเหว่ และการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุที่พักอาศัยในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค และที่พักผู้สูงอายุของเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
พิทพิชัย หรรษอุดม. (2548). การดำรงชีวิตในผู้สูงอายุอย่างประสบความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เพ็ญแข ประจนปัจจนึก. (2550). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนาภาวะพฤฒิพลังในผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ภัทรพรรณ ทำดี. (2560). ตัวตน สังคม วัฒนธรรม: เงื่อนไขสู่การสูงวัยอย่างมีศักยภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารสังคมศาสตร์, 47(2), 109-131.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ประจำปี 2559. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
ระวี สัจจโสภณ. (2556). แนวคิดทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาภาวะพฤฒิพลังในผู้สูงอายุ. วารสารเกษตรศาสตร์ (สังคม), 34(3), 471-490.
เล็ก สมบัติ, ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, และธนิกานต์ ศักดาพร. (2554). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องภาวะสูงวัยอย่างมีคุณประโยชน์กับการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
วริศรา ใจเปี่ยม, ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์, และประสาร มาลากุล ณ อยุธยา. (2558). รูปแบบการให้การปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการเพื่อเสริมสร้างการเป็นผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารพยาบาลทหารบก, 16(1), 51-61.
สมใจ โชติพันธุ์. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้าของ ผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุบ้านบางแค (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). รายงานผลเบื้องต้นการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สุทธิชัย จิตะพันธุ์กุล. (2545). หลักสำคัญของเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุทัสศรี สายรวมญาติ. (2553). อิทธิพลความเชื่อเรื่องกรรมที่มีต่อชีวิตของผู้สูงอายุ: ศึกษากรณีผู้สูงอายุในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางแค (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
สุภจักษ์ แสงประจักษ์สกุล. (2557). วุฒิวัยของผู้สูงอายุไทย. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 17, 231-248.
Belanger, E., Ahmed, T., Filiarault, J., Yu, H., & Zunzunegui, M. (2015). An empirical comparison of different models of active aging in Canada: The international mobility in aging study. The Gerontologist, 57(2), 197-205.
Comrey, A. L., & Lee, H. B. (2016). A first course in factor analysis (2nded.), New York, NY: Psychology Press.
Fernandez-Ballestereros, R., Robine, J. M., Walker, A., & Kalache, A. (2013). Active aging: A global goal. Current Gerontology and Geriatrics Research. doi:10.1155/2013/298012
Flood, M. (2002). Successful aging: A concept analysis. Journal of Theory Construction and Testing, 6(2), 105-108.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis.(7thed.). Upper saddle River, NJ: Pearson Education International.
Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling. New York, NY: Routledge.
Tabachnick, B. G., & Fidell, L. S. (2007). Using multivariate statistics. Boston, MA: Pearson Education.
Thanakwang, K. (2013). Development and psychometric testing of the active aging scale for Thai people (AAS-Thai) (Unpublished doctoral dissertation). Prince of Songkla University.
Thanakwang, K., & Soonthorndhada, K. (2006). Attributes of active aging among older persons in Thailand: Evidence from the 2002 survey. Asia-Pacific Population Journal, 21(3), 113-135.
Troutman, M., Nies, M. A., Small, S., & Bates, S. (2011). The development and testing of an instrument to measure successful aging. Research in Gerontological Nursing, 4(3), 221-232.
World Health Organization. (2002). Active ageing: a policy framework. Geneva, Switzerland: Author.
Yoon, E., & Kolomer, S. R. (2007). Refining the measure and dimensions of social values of older people. Educational Gerontology, 33, 649-669.
Zisberg, A., Young, H. M., & Schepp, K. (2009). Development and psychometric testing of the scale of older adults’ routine. Journal of Advanced Nursing, 65(3), 672-683.