การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีต่อการรับรู้และการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวเจนเนอเรชั่นวาย

Main Article Content

ปิยมาภรณ์ เทียมจิตร
ฉัตรชัย อินทสังข์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจอิทธิพลของการสื่อสารการตลาดออฟไลน์และออนไลน์ที่ส่งผลต่อการรับรู้และนำไปสู่การตัดสินใจของนักท่องเที่ยวเจนเนอเรชั่นวาย จังหวัดนครราชสีมา การเก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยการสำรวจจากนักท่องเที่ยวเจนเนอเรชั่นวาย จำนวน 392 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือใน
การวิจัย ซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือด้วยการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาด้วยผู้เชี่ยวชาญ
และการทดสอบทางสถิติด้วยค่าอำนาจจำแนก มีค่าระหว่าง 0.702-0.882 และความเชื่อมั่นด้วยการทดสอบ
ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าระหว่าง 0.825-0.901 ผลการวิจัย พบว่า ระดับความคิดเห็นของ
การสื่อสารการตลาดแบบออฟไลน์และการสื่อสารการตลาดแบบออนไลน์ ทุกปัจจัยแสดงในระดับมาก นอกจากนี้
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า แต่ละมิติของการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (การสื่อสารการตลาดแบบ
ออฟไลน์และแบบออนไลน์) มีความสำคัญและส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการรับรู้ของนักท่องเที่ยว ในขณะเดียวกัน
การรับรู้นำไปสู่การตัดสินใจของนักท่องเที่ยวเจนเนอเรชั่นวาย จังหวัดนครราชสีมา

Article Details

How to Cite
เทียมจิตร ป., & อินทสังข์ ฉ. . (2022). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีต่อการรับรู้และการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวเจนเนอเรชั่นวาย . วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 42(2). สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/utccjournalhs/article/view/249546
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). ยุทธศาสตร์กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560-

. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กองยุทธศาสตร์และแผนงาน.

เกตุวดี สมบรูณ์ทวี, คมกริช ศรีไพรงาม, และลลิตภัทร สร้างถิ่น. (2561). ปัจจัยด้านคุณภาพที่ส่งผลต่อการ

ตัดสินใจซื้อรถยนต์สัญชาติญี่ปุ่น. วารสารการจัดการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 7(1), 1-8.

ฉัตรชัย อินทสังข์ (2562). หลักการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครราชสีมา: เอ็กปริ้นติ้ง.

ธนรัช เสมอภาค. (2564). การรับรู้สื่อโฆษณาที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในจังหวัดภูเก็ต. วารสาร

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 7(1), 285-298.

ธนินท์รัฐ รัตนพงศ์ภิญโญ. (2559). ความสำเร็จของธุรกิจท้องถิ่นด้วยการจัดการนวัตกรรมและการประยุกต์ใช้

สื่อสังคมออนไลน์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(3),

-125.

ธัญรัตน์ รัตนกุล. (2559). การสื่อสารทางการตลาดและการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ

ซื้อชุดชั้นในยี่ห้อวาโก้ของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์).

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปราโมทย์ ยอดแก้ว. (2564). การตลาดดิจิทัลกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตใหม่ในสังคมไทย. วารสารสังคมวิจัย

และพัฒนา, 3(1), 11-22.

ปริษฐา ถนอมเวช. (2563). เครื่องมือการสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรกับค่านิยมของผู้บริโภควัยรุ่น

ยุคดิจิทัล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 14(3), 97-106.

รุ่งนภา บริพนธ์มงคล, และกฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2563). การรับรู้คุณภาพสินค้าและคุณภาพการบริการ

ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อซํ้าเครื่องทำความสะอาดอุตสาหกรรม. วารสารศิลปะและการจัดการ, 4(1),

-179.

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2564). ตัวชี้วัดความสำเร็จของการใช้บริการแอปพลิเคชันสั่งอาหารในช่วงการระบาด

ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 17(2), 114-129.

เรวดี พานิช. (2559). พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(3), 79-93.

วนิดา เลิศพิพัฒนานนท์. (2561). รูปแบบพฤติกรรมและแรงจูงใจในการท่องเที่ยวของคนไทย Gen Y. วารสาร

วิทยาลัยดุสิตธานี, 12(พิเศษ), 134-149.

วรญา วิทูวินิต. (2563). อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าฮาลาล

ในมุมมองของผู้บริโภค Generation ต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(1),

-363.

วิลาส ฉํ่าเลิศวัฒน์. (2559). Re: digital การตลาดยุคใหม่เจาะใจลูกค้า. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.

สุวิมล ติรกานันท์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

เสาวลักษณ์ นัทธีศรี. (2560). การสื่อสารการตลาดดิจิทัล: กลยุทธ์การบริหารเพื่อสร้างความได้เปรียบ ของสถาบัน

อุดมศึกษาไทย. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 23(2), 310-321.

เหมสุดา สันติมิตร. (2558). กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจรถ

จักรยานยนตบิ๊กไบค์ในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัย

ศิลปากร, กรุงเทพฯ.

Blakeman, R. (2018). Integrated marketing communication: Creative strategy from idea

implementation. Lanham, MD.: Rowman & Littlefield.

Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques (3rd ed). New York: John Wilay & Sons.

Cooper, D. R., & Schindler, P. S. (2006). Business research methods (9th ed). Boston, MA.:

McGraw-Hill Irwin.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E. (2010). Multivariate data analysis: A global

perspective (7th ed.). Upper Saddle River, N.J.: Pearson/Prentice-Hall.

Key, T. M. & Czaplewski, A. J. (2017). Upstream social marketing strategy: An integrated marketing

communications approach. Business Horizons, 60(3), 325-333.

Kitchen, P., & Tourky, M. E. (2020). Communications at a crossroads: what place for integrated

marketing communications in a post-Covid-19 landscape?. Revista de Estudios

Empresariales. Segunda Época, 2, 7-17.

Kusa, A., & Patik, L. (2021). Changes in corporate strategies and consumer behavior caused by

COVID-19 affecting marketing communications and their tools. Ad Alta: Journal of

Interdisciplinary Research, 11(1), 231-238.

Mihart, C. (2012). Impact of integrated marketing communication on consumer behaviour: Effects

on consumer decision-making process. International Journal of Marketing Studies, 4(2),

Naumovska, L. (2017). Marketing communication strategies for generation Y–millennials. Business

Management and Strategy, 8(1), 123-133.

Ponte, E. B., Carvajal-Trujillo, E., & Escobar-Rodríguez, T. (2015). Influence of trust and perceived

value on the intention to purchase travel online: Integrating the effects of assurance on

trust antecedents. Tourism Management, 47, 286-302.

Tajvidi, R., & Karami, A. (2017). The effect of social media on firm performance. Computers in

Human Behavior, 115, 1-10.

Vernuccio., M. (2015). Online and offline integration in marketing communication. Delving into

the business perspective. EMAC 2015 Conference, 1-7. Retrieved from https://core.ac.uk/

download/54520789.pdf