Relationship between Operational Efficiency and Firm Value of The Listed Companies in Thailand Sustainability Investment
Main Article Content
Abstract
The main objective of this study was to examine the relationship between the operational efficiency and firm value of the listed companies in Thailand’s sustainability investment. The population were 141 companies active between 2017 and 2021, totaling five years. The 684 pieces of data were collected from the companies’ complete annual reports and analyzed using descriptive analysis and multiple regression analysis. The findings revealed that the return on assets ratio were negatively associated with the firm value and the return on equity ratio were positively associated with the firm value. Moreover, there was a statistically significant positive correlation between the control variable and the enterprise value, the industry group, the size of the business, operation years of business as well as financial risks. Regarding the enterprise value of the listed companies, the value of the enterprises was average, indicating that the listed companies in Thailand’s sustainability investment did not have much different growth. This information is, therefore, useful for investors to make investment decisions to meet their needs and increase their investment confidence.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของบทความ
ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ห้ามมิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลงานไปทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยก่อน
References
เกษศิณี ตั้งอั๋น. (2565). ผลกระทบของการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคลที่มีผลต่อมูลค่ากิจการของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มดัชนีหลักทรัพย์ SETCLMV. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 15(1), 84-94.
จิราภรณ์ ชูพูล, และนภาพร นิลาภรณ์กุล. (2564). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET 100. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 11(1), 39-48.
ชลลดา เลิฟ, และพัทธนันท์ เพชรเชิดชู. (2562). ผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาลกับคุณภาพกำไร. วารสารสุทธิปริทัศน์, 33(106), 179–194.
ณัฐพัชร์ นวลมณีฐิติ, พัทธนันท์ เพชรเชิดชู, และศิริเดช คำสุพรหม. (2563). อิทธิพลของการบริหารความเสี่ยงองค์กรที่มีต่อมูลค่ากิจการที่วัดโดยใช้ Tobin’s Q ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 34(111), 243-259.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2564ก). Sustainable development showcases 2020: แนวทางการจัดการภาวะวิกฤต COVID-19. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://www.setsustainability.com/libraries/934/item/sustainable-development-showcases-2020-covid-19?category=5&type=&search=
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2564ข). รายชื่อหุ้นยั่งยืน THSI (Thailand sustainability investment) ปี2565. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://www.setsustainability.com/libraries/710/item/thailand-sustainability-investment-lists
ธัญลักษณ์ วิจิตรสาระวงค์. (2563). การวิเคราะห์เจาะลึกรายงานทางการเงินและการประเมินมูลค่าตราสารทุน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิตยา โยธาจันทร์, ศศิวิมล มีอำพล, และไพบูลย์ ผจงวงศ์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดเผยข้อมูลรายงานความยั่งยืนกับผลการดำเนินงานของบริษัทในกลุ่ม ESG100. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 13(2), 12–26.
นิตินันท์ พราหมหันต์, ปฏิญญา ทองเจือเพชร, ปัทมาสน์ เนียมแก้ว, ภัณฑิรา มณีไพรัต, ภัทรณิชา สุภัทรชัยวงศ์ และมัทนชัย สุทธิพันธุ์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการรายงานแบบบูรณาการต่อมูลค่าของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (กลุ่ม SET100). วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย, 14(2), 112-132.
ปทุมวดี โบงูเหลือม, และชัยมงคล ผลแก้ว. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกำไรกับมูลค่ากิจการของบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ครั้งแรกแก่สาธารณชนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 7(13), 25-43.
ประสิทธิ์ รุ่งเรือง, และสุธนา นาคฉาย. (2566). อิทธิพลของประสิทธิภาพการดำเนินงานและความได้เปรียบในการบริหารที่มีต่อมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. Journal of Roi Kaensarn Academi, 8(4), 24-35.
ปวีณา แซ่จู, และเบญจพร โมกขะเวส. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับมูลค่ากิจการของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(8), 15-30.
ปัณณวัฒน์ วังอนุสรณ์, ศิริกุล ตุลาสมบัติ, และภูษณิศา เตชเถกิง. (2565). ทฤษฎีตัวแทน: ความท้าทายในการบริหารงานธุรกิจในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 4(1), 1-22.
พรรณทิพย์ อย่างกลั่น. (2562). ผลการดำเนินงานมีอิทธิพลต่อมูลค่ากิจการผ่านการจัดการกำไร ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 16(1), 33–42.
พิมพ์ชนา ภิรมรักษ์, และฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2560). ผลกระทบของการกำกับดูแลกิจการต่ออัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์และมูลค่าของธุรกิจของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม: พัฒนางานวิจัย สร้างสรรค์อุดมศึกษาไทย ก้าวไกลสู่ Thailand4.0 (น. 872-880). สืบค้นจาก https://www.spu.ac.th/uploads/contents/2018041844634.pdf
มาริษา มีประมูล, และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2564). การเข้าร่วมโครงการกำกับดููแลกิจการทำให้มูลค่ากิจการเพิ่มหรือไม่. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 3(8), 46-62.
รองเอก วรรณพฤกษ์. (2563). ผลของค่าความนิยมต่อมูลค่ากิจการผ่านผลการดําเนินงานของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 17(1), 10-20.
ลักขณา ดำชู, และประสิทธิ์ รุ่งเรือง. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการดำเนินงานกับมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม. ใน การประชุมสังคมศาสตร์วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 (น. 572-583). เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.
วัชธนพงศ์ ยอดราช. (2564). ความสามารถในการทำกำไร การจัดการกำไรที่ส่งผลต่อมูลค่ากิจการ ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 18(1), 59–70.
วันสิริ ประเสริฐทรัพย์. (2564). การกำกับดูแลกิจการ การเลือกผู้สอบบัญชี และมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่มีผลประเมินการกำกับดูแลกิจการระดับดีเลิศ. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 18(1), 140-163.
สุพัตรา อภิชัยมงคล, สันนุดี เสลารัตน์, และภูมิฐาน รังคกูลนุวัฒน์. (2565). อิทธิพลของการกำกับดูแลกิจการ การเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมและการเปิดเผยข้อมูลทุนทางปัญญาต่อมูลค่ากิจการ: หลักฐานจากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารศิลปการจัดการ, 6(4), 1990-2008.
สุภาวลัย วงศ์ใหญ่, เนตรดาว ชัยเขต, และดวงกมล นีรพัฒนกุล. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างเงินทุนกับมูลค่าบริษัทกรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชีมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 1(3), 1-17.
หยิง แพน, และปริยดา สุขเจริญสิน. (2564). ปัจจัยกำหนดมูลค่ากิจการในบริษัทภาพยนตร์และโทรทัศน์: กรณีศึกษาจากตลาด NEEQ ในสาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารพัฒนาการเศรษฐกิจปริทรรศน์, 15(2), 8-32.
Cho, T. K., Chung, C. Y., & Young, J. (2019). Study on the relationship between CSR and financial performance. Sustainability, 11(2), 343-369.
Choi, B., Lee, D., & Park, Y. (2013). Corporate social responsibility, corporate governance and earnings quality: Evidence from Korea. Corporate Governance: An International Review, 21(5), 447–467. doi:10.1111/corg.12033
Dao, N.T., & Thanh, H.T. (2023). The association between Chief Executive Officer (CEO) characteristics and company performance in Vietnam. Advance Knowledge for Executives, 2(2), 1-13.
Goh, T. S., & Simanjuntak, A. (2018). The influence of firm size, export ratio and earning variablity on firm value with economic exposure as intervening variable in the manufacturing industry sector. In Proceedings of the 1st Economics and Business International Conference 2017 (pp. 521-529). doi:10.2991/ebic-17.2018.82
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Lim, H.- J., & Mali, D. (2023). Does market performance (Tobin’s Q) have a negative effect on credit ratings? Evidence from South Korea. Asia-Pacific Financial Markets. doi:org/10.1007/s10690-023-09406-x
Saiduzzaman, S. M. (n.d.). Ratio analysis theory. Retrieved October 5, 2021, from https://www.academia.edu/5563190/Ratio_Analysis_Theory
Tarek, Y. (2019). The impact of financial leverage and CSR on the corporate value: Egyptian case. International Journal of Economics and Finance, 11(4), 74-81.
Tifow, A. A., & Sayilir, O. (2015). Capital structure and firm performance: An analysis of manufacturing firms in Turkey. Eurasian Journal of Business and Management, 3(4), 13-22.