การวิเคราะห์ความเสี่ยงในคลังสินค้าทั่วไปโดยใช้แนวทางของ IEC 31010
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความซับซ้อนของโครงสร้าง ความผันผวนในการดำเนินงาน การเชื่อมโยงของระบบการทำงาน เทคโนโลยีและขนาดของห่วงโซ่อุปทานนำมาซึ่งปัญหาและความเสี่ยงในการดำเนินงานที่เกิดขึ้นโดยจะก่อให้เกิดปัญหา เช่น การเงิน ความน่าเชื่อถือ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ล้มเหลว เป็นต้น การที่มีระบบกลไกมาวิเคราะห์ปัญหาและความเสี่ยงอย่างเป็นระบบจะช่วยให้ผู้บริหารหรือผู้ปฎิบัติงานสามารถตัดสินใจในการจัดการความเสี่ยงได้ถูกต้องและมีความรับผิดชอบต่อองค์การมากขึ้น บทความนี้ได้นำเสนอวิธีการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 6 ขั้นตอนและเครื่องมือการประเมินความเสี่ยงจากสถาบันมาตรฐานของอังกฤษมาใช้เป็นตัวอย่างในวิเคราะห์และอธิบาย ซึ่งได้นำกรณีศึกษาด้านคลังสินค้าที่มีปัญหาด้านต้นทุนจมมาวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือของแผนผังหาสาเหตุและผล แผนผังการวิเคราะห์รูปโบว์มาวิเคราะห์ พบว่าต้นทุนจมมีสาเหตุมาจากการสำรองวัตถุดิบ วัตถุดิบเสื่อมสภาพ วัตถุดิบและสินค้าไม่ตรงกับความเป็นจริงและการพยากรณ์ความต้องการผิดพลาดซึ่งจะส่งผลต่อกระแสเงินสดลดลงและต้นทุนค่าเสียโอกาสเพิ่มขึ้น วิธีการแก้ไขคือพัฒนาระบบฐานข้อมูล ออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ กำหนดปริมาณสั่งซื้อ ติดตามวัตถุดิบหรือสินค้า หาแหล่งเงินทุนและหาพันธมิตรในการผลิตสินค้าบางประเภท
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของบทความ
ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ห้ามมิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลงานไปทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยก่อน
References
Aljabhan, B. (2023). Economic strategic plans with supply chain risk management (SCRM) for organizational growth and development. Alexandria Engineering Journal, 79, 411-426. doi:https://doi.org/10.1016/j.aej.2023.08.020
Babu, H., & Yadav, S. (2023). A supply chain risk assessment index for small and medium enterprises in post COVID-19 era. Supply Chain Analytics, 3, 100023. doi: 10.1016/j.sca.2023.100023
Dai, M., & Liu, L. (2020). Risk assessment of agricultural supermarket supply chain in big data environment. Sustainable Computing: Informatics and Systems, 28, 100420. doi:https://doi.org/10.1016/j.suscom.2020.100420
Ding, J., Weng, J., & Chou, C. (2023). Assessment of key risk factors in the cold chain logistics operations of container carriers using best worst method. International Journal of Refrigeration, 153, 116-126. doi: 10.1016/j.ijrefrig.2023.06.013
Glette-Iversen, I., Flage, R., & Aven, T. (2023). Extending and improving current frameworks for risk management and decision-making: A new approach for incorporating dynamic aspects of risk and uncertainty. Safety Science, 168, 106317. doi:https://doi.org/10.1016/j.ssci.2023.106317
Gonzalez, L. O., Santomil, P. D., & Herrera, A. T. (2020). The effect of Enterprise Risk Management on the risk and the performance of Spanish listed companies. European Research on Management and Business Economics, 26(3), 111-120. doi:https://doi.org/10.1016/j.iedeen.2020.08.002
Jemaa, F. (2022). Recoupling work beyond COSO: A longitudinal case study of enterprise-wide risk management. Accounting, Organizations and Society, 103, 101369. doi:https://doi.org/10.1016/j.aos.2022.101369
Li, B., Li, H., Ren, S., Liu, H., & Wang, G. (2023). Commodity supply risk assessment of China's copper industrial chain: The perspective of trade network. Resources Policy, 81, 103297. doi:https://doi.org/10.1016/j.resourpol.2023.103297
Minguito, G., & Banluta, J. (2023). Risk management in humanitarian supply chain based on FMEA and grey relational analysis. Socio-Economic Planning Sciences, 87, 101551. doi:https://doi.org/10.1016/j.seps.2023.101551
Mirvis, P. H., Googins, B. K., & Kinnicutt, S. (2010). Vision, mission, values: Guideposts to sustainability. Organizational Dynamic, 39(4), 316-324. doi: 10.1016/j.orgdyn.2010.07.006
Rossi, C. (2014). A risk professional survival guide: applied best practices in risk management. Wiley.
The International Electrotechnical Commission. (2019). Risk management – Risk assessment techniques (2nd ed.). IEC Central Office.
Wang, Q., Zhou, Q., Lin, J., Guo, S., She, Y., & Qu, S. (2024). Risk assessment of power outages to inter-regional supply chain networks in China. Applied Energy, 353, 122100. doi:https://doi.org/1.1016/j.apenergy.2023.122100