การสร้างสื่อมัลติมีเดีย 2 มิติเรื่อง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับคอมพิวเตอร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสื่อมัลติมีเดีย 2 มิติออนไลน์ เรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และคอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่ยังไม่ได้เรียนวิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และคอมพิวเตอร์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จำนวน 70 คน ผลการวิจัยพบว่า
(1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังจากเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดีย 2 มิติออนไลน์ เรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์สูงขึ้นกว่าก่อนเรียน คิดเป็นร้อยละ 72.86 ของจำนวนกลุ่มตัวอย่าง
(2) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ
(3) ผลการประเมินการพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้ เรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และคอมพิวเตอร์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
Article Details
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
[2] ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. เตรียมปรับโฉมห้องเรียนยุคศตวรรษที่ 21.ค้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557. จาก http://www.academia.edu/71984 63/เตรียมปรับโฉมห้องเรียนยุคศตวรรษที่ 21, พ.ศ.2556.
[3] ศัชชญาส์ ดวงจันทร์ จักรพันธ์ เกิดทรัพย์ วารินทร์ ภูสีคุณ สุระ ยอดสิงห์ และสายใจ บุญเสริฐ. “การสร้างสื่อการ์ตูนแอนิเมชั่น 3 มิติ สะท้อนแนวคิดพลิกชีวิตด้วยเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาโรงเรียนวัดหนองกระสังสามัคคี”. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต., พ.ศ.2554.
[4] นวลมณี มัดจุปะ. “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างภาพเคลื่อนไหว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6”. ครุศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม., พ.ศ.2554.
[5] สุทธานันท์ กัลกะ ขวัญตา ภูริวิทยาธีระ และปนิดา พุ่มพุทธ. เจตคติของนักศึกษาต่อการใช้สื่อภาพยนตร์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 19(1), 102-113., พ.ศ.2556.
[6] ธนัญชัย เดชพลกรัง. "การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่สร้างขึ้นตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6". ครุศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยีและการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา., พ.ศ.2551.
[7] วรพรรณ บุดดีด้วง. "การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง “สารในชีวิตประจำวัน” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1" . ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยีและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร., พ.ศ.2550.
[8] อินทิรา พาลีนุด. "การทดสอบหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจของผู้เรียนในการเรียนแบบ e-Learning โดยผ่านระบบสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์". คุรุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี., พ.ศ.2554.
[9] พัทธิรา ครองราษฎร์. "การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียออนไลน์แบบมีตัวชี้นำเรื่อง องค์ประกอบศิลป์". คุรุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, สาขาครุศาสตร์เทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี., พ.ศ.2553.