ผลของนโยบายลดภาษีนิติบุคคลต่อ GDP ของประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นบทความที่ทำการศึกษาถึงผลของนโยบายการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก 30% เป็น 20% ระหว่างในปี พ.ศ. 2555-2556 ต่อผลผลิตของชาติ หรือ GDP ของประเทศไทย ซึ่งทำการศึกษาตามระเบียบวิธีวิจัยทางเศรษฐมิติ ด้วยการสร้างแบบจำลองผลิตภาพการผลิต และวิเคราะห์ตามหลักเศรษฐมิติ โดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลา ได้แก่ตัวแปรรายได้ประชาชาติ , มูลค่าการเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล, มูลค่าการจ้างแรงงาน และมูลค่าการสะสมทุน ซึ่งผลการศึกษาพบว่า การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล มีผลในการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ผลผลิตของชาติ หรือ GDP เติบโตเพิ่มขึ้นรวม 2 ปี คิดเป็น 285,483.18 ล้านบาท
Article Details
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
ภาษีอากร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร :
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
[2] กรมสรรพากร. 2560. ผลการจัดเก็บภาษี.
ค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม, 2560, จาก
http://www.rd.go.th /publish/.
[3] สุรางค์ แปงการิยา. 2556. ประสิทธิภาพการ
จัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลของประเทศไทย.
วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.