การใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนมาร์การีนในผลิตภัณฑ์คุกกี้เนยสด
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปริมาณน้ำมันเมล็ดชาที่เหมาะสมในผลิตภัณฑ์คุกกี้เนยสดและศึกษาการยอมรับผลิตภัณฑ์จากผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์คุกกี้เนยสดที่ใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนมาร์การีน โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) ศึกษาปริมาณน้ำมันเมล็ดชา 3 ระดับ ที่ 85 กรัม, 100 กรัม และ125 กรัม ทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัสด้วยวิธี 5-point hedonic scales ผลการทดลองพบว่าปริมาณน้ำมันเมล็ดชาที่แตกต่างกันมีผลต่อความชอบของผู้บริโภค โดยผู้ทดสอบให้คะแนนความชอบสูตรคุกกี้เนยสดที่ใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนมาร์การีน 85 กรัม ในทุกคุณลักษณะ ได้แก่ สี กลิ่น เนื้อสัมผัส รสชาติ และความชอบโดยรวมมากที่สุด อยู่ในระดับชอบมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22
Article Details
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
/files/4_2.pdf, 27 มิถุนายน 2562.
[2] โพสทูเดย์, คนรุ่นใหม่แห่ท้าอาชีพเสริมตลาดเบเกอรีโตหมื่นล้าน, พ.ศ.2557, แหล่งที่มา: http://www.posttoday. com/biz/sme/287316, 27 มิถุนายน 2562.
[3] Tanasombun, P., Siripanwattana, C., Prasengchom, S. & Ngamsangiam, N. (2014). Replacement of palmyra plam powder in fresh noodle. SDU Research Journal. Sciences and Technology. 7(1), 105-123.
[4] ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, รายงานอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มปี 2558, พ.ศ.2558, แหล่งที่มา: http://www.kasikornbank.com/SME/Documents/KSMEAnalysis/IndustrySolution_FoodsAndBeverages_2015.pdf, 27 มิถุนายน 2562.
[5] Euromonitor International, Bakery in Thailand, Passport, 2015.
[6] Marketingoops, เจาะลึกตลาดบิสกิต ขนมชิ้นเล็กๆ ที่มีมูลค่าตลาดกว่า 13,000 ล้านบาท, 2018, แหล่งที่มา: https://www.marketingoops.com/news/brand-move/ritz-cracker-new-product-2018/, 28 มิถุนายน 2562.
[7] กนิษฐ์กานต์ พรหมราษฎ์ร, กลยุทธ์การตลาดบริการส้าหรับธุรกิจเบเกอรี่, วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, พ.ศ.2556.
[8] สิรินาถ ตัณฑเกษม และสุภางค์ เรืองฉาย, การทดแทนไขมันในคุกกี้โดยใช้ถั่วลิสงบด, วารสารวิชาการ
มหาลัยหอการค้าไทย, ปีที่ 31, พ.ศ.2554, หน้า 114-125.
[9] สายสมร พลดงนอก, สรวิเชษฐ์ รัตนชัยวงศ์, จันจิราภรณ์ วิชัย และธัญญลักษณ์ ทอนราช, ความรู้เรื่องโรคอ้วนลงพุง = Metabolic Syndrome, หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์, พ.ศ.2558.
[10] สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, พ.ศ. 2561. แหล่งที่มา:
http://www.thaihealth.or.th/microsite/categories/5/ncds/2/173/176-NCDs.html, 28 มิถุนายน 2562.
[11] ศักดิ์อนันต์ รัตนสาครชัย, ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตอำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร, วารสารอาหารและยา, ปีที่ 22, พ.ศ.2558, หน้า 61-72.
[12] วิชัย เอกพลากร, รายงานการสำรวจสุขภาพประชากรไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557, สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์, พ.ศ.2559.
[13] ศูนย์วิจัยและพัฒนาชาน้ำมันและพืชน้ำมัน, น้ำมันเมล็ดชา (Camellia Oleifera Seed Oil), พ.ศ.2554,
แหล่งที่มา: http://www.teaoilcenter.org/index.php/2014-07-09-07-48-02/21-product/28-teaoilproduct, 28 มิถุนายน 2562.
[14] ไทยรัฐฉบับพิมพ์, มหัศจรรย์ “น้ำมันเมล็ดชา” จากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตน์, พ.ศ.2558, แหล่งที่มา:
https://www.thairath.co.th/lifestyle/woman/529901, 28 มิถุนายน 2562.
[15] อภิญญา เจริญกุล, การแปรรูปอาหารเบื้องต้น (บทที่ 1-5), สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ศ.2553.