อิทธิพลของความเชี่ยวชาญและความน่าเชื่อถือในการสอบบัญชีที่มีผลต่อความสำเร็จในการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย

Main Article Content

วรกมล ปิ่นทอง
สุภา ทองคง

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความเชี่ยวชาญในการสอบบัญชีและความน่าเชื่อถือในการสอบบัญชีที่มีผลต่อความสำเร็จในการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 400 คนในประเทศไทย ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ  ผลการศึกษา พบว่า ความเชี่ยวชาญในการสอบบัญชี ด้านทักษะทางวิชาชีพ ด้านประสบการณ์วิชาชีพบัญชี ด้านการเรียนรู้อย่างไม่จบ และความน่าเชื่อถือในการสอบบัญชี ด้านความเป็นจริงของข้อมูลและตรวจสอบได้ ด้านศักยภาพในการสอบบัญชี มีอิทธิพลทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสำเร็จในการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย ณ ระดับ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

พยอม สิงห์เสน่ห์, การสอบบัญชี. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์, พ.ศ.2545.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ, การสอบบัญชี. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ : ที พี เอ็น เพรส, พ.ศ.2545.
บุญช่วง ศรีธรราษฎร์, ความสัมพันธ์สัมพันธ์ระหว่างความเชี่ยวชาญการสอบบัญชีกับคุณภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, พ.ศ.2554.
พิมพ์ปวีณ์ มะณีวงค์, ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพที่ดีความน่าเชื่อถือในการสอบบัญชี และความสำเร็จในการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, พ.ศ.2555.
นริษา ทองมณี, ปัญหาและอุปสรรคในการควบคุมคุณภาพสำนักงานสอบบัญชีที่มีผลต่อคุณภาพรายงานการตรวจสอบของสำนักงานบัญชีขนาดเล็กในประเทศไทย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, พ.ศ.2556.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ, การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน (พิมพ์ครั้งที่ 4), คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏพระนคร, พ.ศ.2547.
ศรัญญา บุญขวัญ, ผลกระทบความพยายามในการสอบบัญชีและความเชี่ยวชาญในการสอบบัญชี ที่มีผลต่อผลลัพธ์ในการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย, มหาวิทยาลัยสงขานครินทร์, พ.ศ.2560.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร, การสอบบัญชี. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ:เอเอ็นเอส บีซีเนส คอนซัลแทนส์, พ.ศ.2545.
อรอุมา แก้วสิทธิ์, คุณภาพงานสอบบัญชีที่มีผลต่อความสำเร็จในการสอบบัญชีในการดำเนินงานของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, พ.ศ.2561.
McKnight, C. A. and Wright, W.F., Characteristics of relatively high-performance Reporting in Canada, Journal Accounting Public Policy, 28 : 349-365, 2011.
นริษา ทองมณี, ปัญหาและอุปสรรคในการควบคุมคุณภาพสำนักงานสอบบัญชีที่มีผลต่อคุณภาพรายงานการตรวจสอบของสำนักงานบัญชีขนาดเล็กในประเทศไทย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, พ.ศ.2556.
Choo F, Auditor’s Knowledge Contentent and Judgment Performance : A Cognitive Script Approach, Accounting Organizational and Society, 21(4), 339-359, 1996.
Thongchai C, Audit specialization and audit success:an empirical investigation of certified public accountants (CPAs) in Thailand. The Business and Management Review, 7(1), 395-407, 2015.
จารินยา แก้วสุริยา, ผลกระทบของคุณภาพในการสอบบัญชีและความต่อเนื่องในการสอบทานงานสอบบัญชีที่มีผลต่อความน่าเชื่อถือในการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย, มหาวิทยาลัยสงขานครินทร์, พ.ศ.2560.
Philip, D.P. Audit Quality and Financial Report Disclosure, Flinders Business Schools Research Paper Series. 1, 1-29, 2008.
ณัฏฐธิดา จินมอญ, ความเป็นมืออาชีพกับคุณภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย,มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, พ.ศ.2559.
Siwawong Petchjul, Audit Review Strategy And Audit Success Of Certified Public Accountants (CPAs) In Thailand , Ph.D. student in Accounting at Mahasarakham Business School, Mahasarakham University, Thailand, 2013.