การพัฒนาเครื่องบดเศษหน่อไม้
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องบดเศษหน่อไม้ และเพื่อศึกษาประสิทธิภาพเครื่องบดเศษหน่อไม้ วิธีการวิจัย ออกแบบส่วนประกอบของเครื่องบดเศษหน่อไม้ สร้างเครื่องบดเศษหน่อไม้ และทดสอบประสิทธิภาพเครื่องบดเศษหน่อไม้ ผลการทดลอง ส่วนประกอบเครื่อง 1) โครงสร้างเครื่อง 2) ชุดบด 3) ชุดรีด 4) ชุดลำเลียง 5) ระบบส่งกำลัง 6) ช่องใส่วัตถุดิบ และประสิทธิภาพเครื่องบดเศษหน่อไม้ สูงสุด 4 กิโลกรัม หลังการบด 3.77 กิโลกรัม คงเหลือ 0.23 กิโลกรัม เปอร์เซ็นต์การบด 94.5 % ความสามารถในการทำงานของเครื่อง 30.03 กิโลกรัมต่อชั่วโมง และอัตราการสิ้นเปลืองพลังงาน 500 วัตต์ต่อชั่วโมง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
แมน ฟักทอง; สมชาย โพธิ์พยอม, ศักดิ์สิทธิ์ ชื่นชมนาคจาด, เกริกชัย มีหนู และเกรียงไกร ธารพรศรี, “. การสร้างเครื่องย่อยดินเพื่อใช้ในการผลิตอิฐบล็อกประสาน”, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ปีที่ 4,(2), พ.ศ.2562, หน้า 23-29.
กนต์ธีร์ สุขตากจันทร์, นริศ อินต๊ะวงค์ และนเรศ อินต๊ะวงค์, “เครื่องบดเศษไม้ให้เป็นขี้เลื่อยแบบสองชุดบด”, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ปีที่ 5,(1), พ.ศ.2563, หน้า 1-7.
อนุรักษ์ มะโนมัย และรพีพรรณ เหล็กหมื่นไวย, “การออกแบบและสร้างเครื่องย่อยไม้”, วารสารมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, ปีที่ 33,(2), พ.ศ.2563, หน้า 86-94.
“Roll crusher”, [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://www. rollcrusher1.blogspot.com/, 2021. (5/01/2021)
จตุรงค์ ลังกาพินธุ์, สุนัน ปานสาคร, รุ่งเรือง กาลศิริศิลป์, เกรียงไกร แซมสีม่วง และเอกชัย บัวคลี่, “การศึกษาและทดสอบเครื่องตัดใบบัวหลวง”, วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธีญบุรี, ปีที่ 19,(2), พ.ศ.2563, หน้า 113-123.
น้ำมนต์ โชติวิศรุต, ประพันธ์ วัฒนศิริโชติ และทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์, “การประยุกต์ใช้พีแอลซีในการควบคุมเครื่องบดถั่วเหลืองให้ทำงานโดยอัตโนมัติ”, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ปีที่ 1,(1), พ.ศ.2559, หน้า 59-64.
นิติพงษ์ สมไชยวงศ์, ธีรไนย ยาวิชัย, ธวัชชัย กำเนิดสูง และปกรณ์ เสรีเผ่าวงษ์, “การออกแบบและสร้างเครื่องบดวัสดุปลูกจากกาบมะพร้าวควบคุมด้วยพีแอลซี”, วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, ปีที่ 6,(2), พ.ศ.2562, หน้า 47-56.