ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานการศึกษาในครั้งนี้มีเป้าวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา (1) เพื่อศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อปริมาณการจดทะเบียนใช้รถยนต์ไฟฟ้าในไทย ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว (2) เพื่อศึกษาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจ กับปริมาณการใช้รถยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทยใช้ข้อมูลที่มี วิธีการดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ตามลักษณะข้อมูลพาแนล โดยใช้วิธีการทดสอบพาแนลยูนิทรูทและการทดสอบพาแนลแกรงเกอร์คอแซลลิตี้เพื่อตอบวัตถุประสงค์การศึก โดยเลือกใช้ข้อมูลตั้งแต่เดือน มกราคม ปี 2560 ถึง มิถุนายนปี 2565 จำนวน 66 ชุด ผลการศึกษาพบว่าดุลยภาพระยะยาวปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปริมาณการจดทะเบียนใช้รถยนต์ไฟฟ้าในไทย มากที่สุดคือ ราคาที่เกี่ยวข้อง รองลงมาคือ ราคาสินค้า และอัตราภาษีสรรพสามิตมีทิศทางที่ตรงกันข้ามกับปริมาณการจดทะเบียนใช้รถยนต์ ระยะสั้นเกิดการปรับตัวในดุลยภาพระยะสั้นเพื่อเข้าสู่ดุลยภาพระยะยาวของแบบจำลอง จากผลการศึกษาภาครัฐควรมีมาตรการมาตรการเพื่อสร้างการจูงใจทางภาษีเพื่อลดความต้องการรถยนต์ส่วนบุคคลและรักษาความสมดุลของผลกระทบของอัตราภาษีสรรพสามิตต่อปริมาณการจดทะเบียนรถไฟฟ้าและราคาสินค้า ควรรวมมาตรการจูงใจทางภาษีสำหรับการซื้อรถที่ปล่อยมลพิษต่ำหรือส่งเสริมทางเลือกในการขนส่งสาธารณะ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
พงศา ธเนศศรียานนท์. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์รุ่นประหยัด (Eco cars) ที่มีเครื่องยนต์ไม่เกิน 1,600 ซีซี ในเขตกรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด.
ปนัดดา โรจนวุฒิพงศ. (2551). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างราคาน้ำมันกับปริมาณจดทะเบียนรถยนต์ใหม่. ค้นหาเมื่อ 5 ตุลาคม 2565, จาก
https://scholar.utcc.ac.th/handle/6626976254/682
วิศรุต ทั่งเพชร. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าประเภทแบตเตอรี่ ของกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ๊กซ์และเจเนอเรชั่นวาย ในกรุงเทพฯและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
มนตรี พิริยะกุล. (2544). Panel data analysis ข้อมูลอนุกรมเวลา (time series data) วารสารรามคำแหงมหาวิทยาลัยรามคำแหง, 30(2) 41-53.
Krejcie, R.V., & D.W. Morgan. (1970). “DeterminingSample Size for Research Activities”. Educational and Psychological Measurement.30(3):607–610.
Badi H. Baltagi. (2008). Economettric Analysis of Panel Data. Chippenham: CPI Antony Rowe.
Kao and Chihwa. 1999. Spurious regression and residual-based tests for cointegration in panel data. Journal of Econometrics 90 (1):1-44.
Maddala, G. S. and S. Wu. (1999). A Comparative study of unit root tests with panel data and a new simple test. Oxford Bulletin of Economics 3 and Statistics. 61, 631-52.
Nonthapot and Sompholkrang. (2016). Effects of the Thailand’s Political Instability on Asian Tourist Arrivals in the Mekong Countries: A Dynamic Panel Data Approach. PONTE International Journal of Science and Research, 72(3), 127-136. Retrieved June 27, 2022, from