การเปลี่ยนแปลงชนิดคำจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตสู่คำยืมภาษาไทย

Main Article Content

Thawatchai Dunyasucharit

บทคัดย่อ

ในภาษาไทยมีการยืมคำจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตมาใช้เป็นจำนวนมากโดยมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเสียง และความหมาย นอกจากนี้แล้วยังเปลี่ยนแปลงชนิดของคำด้วย บทความนี้มุ่งศึกษาชนิดของคำและการสร้างคำในภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต และชนิดของคำยืมจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตที่นำมาใช้ในภาษาไทย ผลการศึกษาพบว่าคำในภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตแบ่งได้เป็นสามกลุ่มหลัก ๆ คือกลุ่มคำนาม กลุ่มคำกริยาและกลุ่มคำไม่แจกรูป แต่คำที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย มีเฉพาะกลุ่มคำนามจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต โดยเมื่อนำมาใช้จะเปลี่ยนแปลงชนิดคำจากนามเป็นคำกริยา คำวิเศษณ์ คำอุทาน คำสรรพนาม และคงลักษณะของคำนามไว้

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิชาการ/บทความวิจัย

References

Chantharaburinaruenat, H.H. (1970). Pathanukrom Bali Thai Angkrit
Sansakrit. (in Thai) [Pali-Thai-English-Sanskrit Dictionary]. Bangkok:
MahamakutaRajavidyalaya.

Hoffer, B.L. (2002). Language Borrowing and Language Diffusion: An Overview.
Intercultural Communication Studies, 11: 4.

Kaeokhlai, C. (2012). Laksana kan chai sap Bali Sansakrit nai phasa Thai.
(in Thai) [Use of Pali and Sanskrit Words in Thai]. Bangkok:
Sahathammik.

Katre, M.S., (tr.). (1989). Astadhyayi of Panini. Delhi: MotilalBanarsidass.

Phanuchari, S. (2009). Phasa Bali phuea kan sueksa khon khwa
phraphutthasatsana. (in Thai) [Pali Language for Buddhist Studies].
(2nd Ed.). Bangkok: Mahamaukta Rajavidyalaya University.

The Royal Society. (2013). Photchananukrom chabap
ratchabandittayasathan phoso 2554. (in Thai).
[Dictionary, Version of Royal Institute 2013]. Bangkok: Royal Institute.
Thai Language Institute. (2012). Banthatthan phasa Thai lem song. (in Thai)
[Thai Reference Grammar Vol. 2]. Bangkok: Thai Language Institute.

Whitney, W.D. (1993). Sanskrit Grammar. Delhi: Motilal Banarsidass

Williams, M. (1899). Sanskrit-English. Delhi: Motilal Banarsidass.