THE EFFECTS OF BRAIN-BASED LEARNING MANAGEMENT TOGETHER WITH EDUCATIONAL GAMES ON READING AND WRITING ABILITIES OF GRADE 2STUDENTS IN SCHOOLS UNDER KALASIN PRIMARY EDUCATIONAL SERVIC AREA OFFICE 1
Main Article Content
Abstract
This research aimed to 1) compare the 70 percent criterion score of the Thai language reading ability of Grade 2 students after learning under the brain-based learning management together with educational games and 2) compare against the 70 percent criterion score of the Thai language writing ability of Grade 2 students after learning under the brain-based learning management together with educational games. The sample consisted of 10 Grade 2 students in an intact classroom of a school under Kalasin Primary Educational Service Area Office 1 during the second semester of the 2023 academic year, selected by multi-stage sampling. The research tools employed were 1) ten learning management plans for brain-based learning management together with educational games requiring 20 hours of instruction, 2) a scale to assess the Thai language reading ability of Grade 2 students, and 3) a scale to assess Thai language writing ability of Grade 2 students. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and sign test.
The research findings revealed that:
- The Thai language reading ability of Grade 2 students who had learned under the brain-based learning management together with educational games was significantly higher than the 70 percent criterion score at the .01 level of statistical significance.
- The Thai language writing ability of Grade 2 students who had learned under the brain-based learning management together with educational games was significantly higher than the 70 percent criterion score at the .01 level of statistical significance.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมวิชาการ. (2546). คู่มือแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552)หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กฤตยากาญจน์ อินทร์พิทักษ์. (2562). การพัฒนาความสามารถการอ่านและการเรียนคำภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จริญญา สอนสุด. (2550). ผลการสอนโดยใช้เกมที่มีต่อการเรียนรู้ศัพท์ ความคงทนในการเรียนรู้ และเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ธีรารัตน์ ไกรสีขาว. (2563). การพัฒนาทักษะการเขียนคำสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้ภาษาถิ่นในชีวิตประจำวัน ด้วยการจัดการเรียนโดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. ใน การค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ผกาพรรณ งันทะ. (2564), การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่องคำที่มาจากภาษาต่างประเทศด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับสื่อเกมกระดานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ใน การคันคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พรพิไล เลิศวิชา. (2553). คู่มือการประกันคุณภาพโรงเรียน ก้าวสู่โรงเรียน BBL School model. เชียงใหม่: ธารปัญญา.
พรพิไล เลิศวิชา และอัครภูมิ จารุภากร. (2550). ออกแบบกระบวนการเรียนรู้โดยเข้าใจสมอง. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ์.
ฟองจันทร์ สุขยิ่ง และคณะ. (2553). ศิลปะการเขียนอย่างมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2549). นวัตกรรมตามแนวคิด Backward Design. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วรรณี โสมประยูร. (2534). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.
______. (2544). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
อัจฉรา ชีวพันธ์. (2542). กิจกรรมการเขียนสร้างสรรค์ในชั้นประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
อามีเนาะ ตารีตา. (2560). ผลของการจัดการเขียนโดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับกลวิธี POE ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ใน วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.