การพัฒนาพลเมืองสู่โมเดลพลเมืองที่ตื่นตัวในสังคมประชาธิปไตยของไทย

Main Article Content

วินิจ ผาเจริญ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดพลเมืองที่ตื่นตัวและหลักการการพัฒนาพลเมืองสู่โมเดลพลเมืองที่ตื่นตัวในสังคมประชาธิปไตยของไทย ที่มีความสามารถการคิดเชิงเหตุผล มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสำนึกเพื่อส่วนรวม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และรู้รอบทุกด้านและเท่าทันเหตุการณ์ บทความนี้ได้ทิ้งประเด็นท้าทายความเป็นพลเมืองที่ตื่นตัวในสังคมไทยต้องสลัดจารีตประเพณีแบบดังเดิมออกจากระบบอุปถัมภ์ ระบบศักดินา อภิสิทธิ์นิยม และอำนาจนิยม เพราะระบบเหล่าครอบงำประชาชนส่วนใหญ่จนนำไปสู่พลเมืองที่เฉื่อยชา ดังนั้น ผู้เขียนข้อเสนอแนะหากเกิดจากการบ่มเพาะปลูกฝังความคิด อุดมการณ์ และจิตสำนึกเพื่อส่วนรวม จากสถาบันครอบครัว ชุมชน ศาสนา สื่อมวลชน การปกครองส่วนท้องถิ่น ฯลฯ ย่อมทำให้พลเมืองที่มีความกระตือรือร้นที่จะเข้าไปมีส่วนรวมในการพัฒนาประเทศมากยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชาญชัย ฤทธิร่วม. (2562). วิเคราะห์ความเหลื่อมล้ำทางสังคมด้านการศึกษาของพลเมืองชายขอบ. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์. 2(4), 49-60.

นริศ จันทวรรณ. (2559). ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย: กรณีศึกษานักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหงระดับปริญญาตรี ส่วนกลาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 7(1), 103-113.

ปริญญา เทวานฤมิตกุล. (2552). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง : Civic education พัฒนาการการเมืองไทยโดยสร้างประชาธิปไตยที่ “คน”. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปลินธร เพ็ชรฤทธิ์. (2550). สภาพและปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นพลเมืองดีให้แก่นักเรียนมัธยมศึกษาของครูสังคมศึกษา. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิชัย ภู่โยธินและคณะ. (2552). หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ม.4 – ม. 6. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.

สถาบันพระปกเกล้า. (2559). พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย เอกสารประกอบเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความเป็นพลเมืองและการเมืองภาคพลเมือง. ศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า จังหวัดลำพูน. เรียกใช้เมื่อ 30 เมษายน 2563 จาก https://kaewpanya.rmutl.ac.th/kservice/lpkpi/admin/courses/kpi2.pdf

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส้รางเสริมสุขภาพ. (15 สิงหาคม 2557). จดหมายข่าวชุมชนคนรักสุขภาพ ฉบับสร้างสุข.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2556). สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย. เรียกใช้เมื่อ 30 เมษายน 2563 จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/article/article_20130730155120.pdf

สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2556). โลกเปลี่ยนไทยปรับ : หลุดจากกับดัก พ้นจากชาติที่ล้มเหลว. กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพธุรกิจ.

อรรถพล อนันตวรสกุล. (2560). ห้องเรียนประชาธิปไตยไม่ได้อยู่แต่ในวิชาหน้าที่พลเมือง. เรียกใช้เมื่อ 20 เมษายน 2563 จาก https://thematter.co/social/active-citizen/24144

Banks,J.A. (Ed). (2004). Diversity and citizenship education: Global Perspectives. San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Suraphon Promgun. (2018). Thai Society and the solving of corruption problem in the 21st century. School of Administrative Studies Academic Journal, 1(1), 57-64.