ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาภาษาจีนของจังหวัดสกลนคร

Main Article Content

ไพจิตร กุลตั้งวัฒนา
ไชยา ภาวะบุตร
วิจิตรา วงศ์อนุสิทธิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความคาดหวังการจัดการศึกษา ภาษาจีนของจังหวัดสกลนคร 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์กลยุทธ์และแนวปฏิบัติการจัดการศึกษา ภาษาจีนของจังหวัดสกลนคร 3) ศึกษาความเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญและจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาภาษาจีนของจังหวัดสกลนคร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงยุทธศาสตร์แบบมีส่วนร่วม โดยแบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาบริบทเพื่อจัดท าร่าง ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ โดยการวิจัยเอกสาร การวิจัยเชิงส ารวจ การศึกษาพหุกรณี และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ทรงคุณวุฒิ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้ก าหนดประชากร คือ ผู้บริหาร ครู อาจารย์ จังหวัดสกลนครและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในจังหวัดสกลนคร 10,110 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีสุ่มแบบหลายขั้นตอน จ านวน 553 คน และระยะที่ 2 เป็นการตรวจสอบข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ อิงเกณฑ์ ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ โดยการประชุมผู้เชี่ยวชาญกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร และอาจารย์ จ านวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการจัดการศึกษาภาษาจีนในจังหวัดสกลนคร ได้รับความสนใจ จากผู้เรียนทุกระดับการศึกษา แต่ยังประสบปัญหาด้านการขาดทักษะการสื่อสารภาษาจีน ดังนั้น การวิจัยด้าน การจัดการศึกษาภาษาจีน จึงมีความส าคัญต่อการผลิต พัฒนาก าลังคนของประเทศ ในสังคมฐานความรู้ และ ยุคโลกาภิวัตน์ การใช้ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาภาษาจีน จึงเป็นเคร่ืองมือ ช่วยท าให้การจัดการเรียนการสอน ภาษาจีน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสถาบันการศึกษาจังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นฐานส าคัญหลักของการพัฒนาประเทศชาติต่อไป 2) ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์กลยุทธ์และแนวปฏิบัติการ จัดการศึกษาภาษาจีนของจังหวัดสกลนคร มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาหมาย โดยมี 7 ยุทธศาสตร์ คือ 1) ด้านการบริหาร มี 5 กลยุทธ์ 9 แนวปฏิบัติ 2) ด้านหลักสูตร มี 3 กลยุทธ์ 6 แนวปฏิบัติ 3) ด้านบุคลากร มี 3 กลยุทธ์ 6 แนวปฏิบัติ 4) ด้านผู้เรียน มี 3 กลยุทธ์ 6 แนวปฏิบัติ 5) ด้านการเรียนการสอน มี 3 กลยุทธ์ 6 แนวปฏิบัติ 6) ด้านเอกสาร ต าราและแหล่งศึกษา ค้นคว้า สื่อผสมที่ใช้ในการเรียนการสอน มี 3 กลยุทธ์ 6 แนวปฏิบัติ และ 7) ด้านความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐภาคเอกชน และภาคท้องถิ่น มี 4 กลยุทธ์ 8 แนวปฏิบัติ 3) ผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้เสีย เห็นว่า ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์กลยุทธ์และแนวปฏิบตัิ การจัดการศึกษาภาษาจีนของจังหวัดสกลนคร มีความเหมาะสม และมีความเป็นไปได้ในการน าไปปฏิบัติต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรรณิการ์ สงวนนวล. การศึกษาการใช้หลักสตูรกลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) ใน สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณม์หาวิทยาลยั, 2546. กุลนรี นุกิจรังสรรค์. สรุปผลงานวิจัย การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย : การศึกษานอกระบบ. เว็บไซต์สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ออนไลน์) 2551. (อ้างเมื่อ 25 กรกฎาคม 2555) จาก: http://www.thaiworld.org เชาวลิต ธาดาสิธิเวช. รายงานการพัฒนาหลักสูตร สื่อ และการจัดการเรียนการสอน การศึกษาทางไกล หลักสูตรภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : สถาบนัการศึกษาทางไกล ส านักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศกึษาตามอัธยาศัย ส านักงานปลดักระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2552. เชี่ยวชาญ ศิวะคุณาการ. การประเมินผลโครงการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนเทศบาลบ้าน สามกอง (ขุนวิเศษนุกูลกิจอุทิศ). สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551. ทวี ธีระวงศ์เสรี. สรุปผลงานวิจยั เรื่อง ความร่วมมือไทย-จีน ด้านการเรียนการสอนภาษาจีน. (ออนไลน์) 2555. (อ้างเมื่อ 25 กรกฎาคม 2555). จาก : บทความจากเว็บไซต์ศูนย์โลกสัมพนัธ์ไทย สถาบนั เอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลัย http://www.thaiworld.org พรหทัย จันทรกานตานนท์. การศึกษาสภาพการจัดการโรงเรยีนเอกชนที่สอนภาษาจีน ในหลักสูตรระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานพินธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัธุรกิจบัณฑิตย์, 2549. พัชนี ตั้งยืนยงและสุรีย์ ชุณหเรืองเดช. สรุปรายงานวิจัย การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย : ระดับอุดมศึกษา. (ออนไลน์) 2555. (อ้างเมื่อ 25 กรกฎาคม 2555). จาก : บทความจากเว็บไซต์ ศูนย์โลกสัมพนัธไ์ทย สถาบนัเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลัย, 2551. มหาวิทยาลยัหอการค้าไทย. หนังสือรวมบทความวิชาการ สัมมนาจีนศึกษา “พลวัตแห่งภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรมจีน”. กรุงเทพฯ : แซทโฟว์ พริ้นติ้ง, 2554. รณพล มาสนัติสุข. การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา. สถาบันเอเชียศึกษา, 2551. สุวิชัย โกศัยยะวัฒน์. แนวทางการพัฒนาโรงเรียนนโยบายพิเศษในจังหวัดชลบุรี : กรณีศึกษาเฉพาะ โรงเรียนสอนภาษาจีน. รายงานการวิจัย ภาควชิาพนื้ฐานการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยับูรพา, 2543.
71ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2560) 69
สำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาตา่งประเทศ ส านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเรียน การสอนภาษาจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : บางกอกบล็อก, 2553. หวัง หยวนหยวน. ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทย-จีน: กรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาจีนใน สถาบันอุดมศึกษา ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย. วิทยานพินธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยเชียงใหม่, 2551. Chao, Der-lin. A new Approach to Teach Chinese Characters. [Online]. 2008. Accessed 23 May Available from zttp://academics.hamikou.edu/eal/home//conf/c2/Abstract.html.