The ความรุนแรงในกวีนิพนธ์ เรื่อง เพียงความเคลื่อนไหว ของ เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

ผู้แต่ง

  • ไพลิน อินคำ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

คำสำคัญ:

ความรุนแรง, ซีไรต์, กวีนิพนธ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่อง “ความรุนแรงในกวีนิพนธ์ เรื่อง เพียงความเคลื่อนไหว ของ เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์” ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความรุนแรงในกวีนิพนธ์ในกวีนิพนธ์เรื่องเพียงความเคลื่อนไหว ของ เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีความรุนแรงของ โยฮัน กัลตุง (Johan Galtung) ในการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่าความรุนแรงที่ปรากฏมีอยู่ 3 ประเภท คือ 1. ความรุนแรงทางตรง 2. ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง และ 3. ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม

References

กฤษฎา บุญชัย. ความรุนแรงจากวรรณกรรมของขบวนการ ท้องถิ่นด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
วิทยานิพนธ์ ร.ม.,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ชัยเนตร ชนกคุณ. (2555). ตัวละครชายขอบในวรรณกรรมซีไรต์. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
ดวงมน จิตร์จำนงค์. (2543). แนวคิดสำคัญของกวีนิพนธ์ไทยในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารสงขลานครินทร์ฉบับสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์, 2(1), หน้า 1-13.
ธนิกาญจน์ จินาพันธ์. (2546). วิเคราะห์แนวคิดและคุณค่าในกวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยม แห่งอาเซียน
(ซีไรต์). วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., มหาวิทยาลัยศิลปกร, กรุงเทพฯ.
เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์. (2523). เพียงความเคลื่อนไหว (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
วชิรา จันทร์ทอง. (2554). ความรุนแรงในมิติเพศฝังในหนังรัก. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.
วัชรินทร์ แก่นจันทร์. (2557). วาทกรรมความรุนแรงในนิทานขำขันของล้านนา. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-28