การปรับตัวของเกษตรกรชาวนาต่อสถานการณ์ภัยแล้ง ในชุมชนบ้านไผ่จรเข้ อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม

การปรับตัวของเกษตรกรชาวนาต่อสถานการณ์ภัยแล้ง ในชุมชนบ้านไผ่จรเข้ อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม

ผู้แต่ง

  • พินธ์ทิพภา สนธิสุวรรณกุล คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • สวรรยา ธรรมอภิพล คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การปรับตัว, เกษตรกรชาวนา, สถานการณ์ภัยแล้ง

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสถานการณ์ภัยแล้งที่เกิดขึ้น ในชุมชนบ้านไผ่จรเข้ ต าบลไทรงาม อ าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อ ศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้งที่เกิดขึ้นในชุมชนบ้านไผ่จรเข้ ต าบล ไทรงาม อ าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และ 3) เพื่อศึกษาการปรับตัวของ เกษตรกรต่อสถานการณ์ภัยแล้ง ที่เกิดขึ้นภายในชุมชนบ้านไผ่จรเข้ ต าบล ไทรงาม อ าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ด าเนินการศึกษาโดยใช้ระเบียบวิจัย เชิงคุณภาพด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็น เกษตรอ าเภอบางเลนและเกษตรกรชาวนาที่มีภูมิล าเนาอาศัยอยู่ภายในชุมชน บ้านไผ่จรเข้ ไม่ต่ ากว่า 10 ปี อายุไม่น้อยกว่า 30 ปี และประกอบอาชีพท านา ไม่ต่ ากว่า 5 ปี รวมทั้งสิ้น 17 คน และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูลแบบสามเส้าด้านวิธีการ วิเคราะห์ สรุปและน าเสนอผล การศึกษาในรูปแบบพรรณนาความ ผลการศึกษา พบว่า 1) สถานการณ์ภัย แล้งภายในชุมชนบ้านไผ่จรเข้เป็นไปใน 3 ลักษณะ คือปริมาณน้ าฝนที่ตกน้อย กว่าปกติ ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล และฝนทิ้งช่วงเป็นระยะเวลานานกว่าปกติ ท าให้ฤดูแล้งยาวนาน 2) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจจากภัยแล้ง คือ ปริมาณ ผลผลิตข้าวลดน้อยลง รายได้จากการจ าหน่ายข้าวลดลง และภาวะหนี้สิน ผลกระทบด้านสังคมจากภัยแล้ง คือ ปัญหาสุขภาพอนามัยจากการใช้น้ าที่ไม่ เพียงพอและไม่ได้คุณภาพ การเปลี่ยนแปลงอาชีพและการอพยพย้ายถิ่น (ชั่วคราว) ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมคือ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของดิน การเกิดโรคระบาดในสัตว์เลี้ยงและพืช และระดับน้ าในดินลดต่ าลง และ 3) การปรับตัวของเกษตรกรเป็นไปใน 2 ลักษณะคือ 1) ปรับตัวด้านอาชีพ โดย เปลี่ยนอาชีพอย่างถาวรและการหาอาชีพเสริมในช่วงที่ไม่สามารถท านา 2) การปรับตัวด้วยการแก้ปัญหาตามศักยภาพความพร้อมของตนเอง ได้แก่ การติดตามข่าวสารของทางราชการ การเฝ้าระวังสถานการณ์น้ า ปรับเปลี่ยน ชนิดพันธุ์ข้าวให้เหมาะสมกับพื้นที่ การบริหารจัดการแหล่งน้ าส ารองในช่วงที่ เกิดภัยแล้ง

Author Biographies

พินธ์ทิพภา สนธิสุวรรณกุล, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

สวรรยา ธรรมอภิพล, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

References

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย. (2551). คู่มือการ จัดการภยัพิบตัิส าหรบัประชาชนตามหลักการจัดการความเสยี่งจาก ภัยพิบตัิโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: กองส่งเสริมการป้องกัน สาธารณภยั. กรมอุตุนิยมวิทยา. (2557). ภยัแลง้. สบืค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2560 จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=71.
กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์, ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ, อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา และพรเพ็ญ วิจกัษณ์ประเสริฐ. (2558). รายงานการวิจัยเรื่อง การปรับตัวของเกษตรกรปลูกข้าวในทุ่งระโนดต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ. กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวจิัย. จันทิมา เจริญผล. (2555). ความแห้งแล้ง หรือภัยแล้ง. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2560 จาก http://www.flood.rmutt.ac.th/?p=1079.
จิตคุปต์ ละอองปลิว. (2559). การปรับตัวและการมีส่วนร่วมของเกษตรกรผู้ใช้ น้ าในพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบทกรณีศึกษาอา เภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี.
Journal of Humanities and Social Sciences Thaksin University, 10(2), 151-177.
ณัฐวุฒิ อุปปะ. (2554). บางระก า: นโยบายรัฐยังเป็นเส้นขนานกับการ ปรับตัวของชมุชน. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2560 จาก https://www.greenpeace.org/archive-thailand/campaigns/ climate-and-energy/arctic-impacts/from-arctic-tothai/government-policy-vs-community-adaptation/.
นิลวรรณ เพชระบูรณิน. (2554). ทิศทางของประเทศไทยต่อการตั้งรับ ปรับตัวกับสภาวะโลกร้อน. กรุงเทพฯ: ส านักสื่อสร้างสุข. นุจนาจย ์ งิดชัยภูมิ. (2555).
การปรับตวัของเกษตรกรรายย่อยในการลด ต้นทุนการผลิตข้าวนาน้ าฝนอา เภอบา้นเขว้า จังหวัดชยัภูมิ.
วารสาร วิทยาศาสตร์เกษตร, 43(2(พิเศษ)), 246–248.
ปนิทัศน์ มามีสุข. (2559). ชาวบ้านอ าเภอบางเลน พลิกวิกฤติร่วมใจท า หัตถกรรมพื้นบ้านสภู้ัยแล้ง. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2560 จาก http://www.ryt9.com/s/bmnd/2417174.
เพ็ญฑิตา เอี่ยมชม, เฉลิมพล จตุพร, พฒันา สุขประเสริฐ และสุวิสา พัฒน เกียรติ. (2560). การปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวต่อสถานการณ์ภยั แล้งในอ าเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. วารสารเกษตรพระวรณุ, 14(2), 191-198.
ภูริตา เกิดปรางค์ และสวรรยา ธรรมอภพิล. (2560). การปรับตัวเชิงรุกของ เกษตรกรสวนส้มโอ จังหวัดนครปฐม. วารสารการจดัการและการ พัฒนา มหาวิทยาลยัราชภฏัอุบลราชธานี, 4(2), 21-43.
ฤทธิ์เดช สุตา, สายบวั เข็มเพ็ชร และศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา. (2557). การรับรู้ และการปรับตวัของเกษตรกรบนพื้นที่สงูต่อความแปรปรวนของสภาพ ภูมิอากาศ. แก่นเกษตร, 42 (ฉบับพิเศษ 2), 190-197.
วิเชียร เกิดสุข และพัชรินทร์ ฤชวุรารักษ์. (2555). รายงานการวิจยัเรื่อง โครงการการปรบัตัวของเกษตรกรชาวนาทุ่งกุลาร้องไห้ต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ. ขอนแก่น: สถาบันวิจยัและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศุภกร ชินวรรโณ, ณรงค์ คงมาก, ปกรณ์ ดิษฐกิจ และสายัณห ์สดุดี. (2555). การปรับตัวต่อการเปลยี่นแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติใน บริบทเชิงพื้นที่. กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2554). โครงการศึกษา ด้านผลกระทบการเปลยี่นแปลงสภาพภูมิอากาศและความแปรปรวน ของสภาพอากาศในอนาคตและการปรับตัวของภาคส่วนที่สา คัญ. กรุงเทพฯ: ส านักงานนโยบายและแผนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม. สวรรยา ธรรมอภิพล และนวิะภร สิทธิภักดี. (2560). การปรับตวัของเกษตรกร สวนมังคุดจังหวัดระนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิากาศ กรณีศึกษา: ชุมชนบ้านบกกราย ตา บลน้ าจืด อา เภอกระบุรี จังหวัด ระนอง. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(3), 1350–1359. ส านักงานจังหวัดนครปฐม. (2559). บรรยายสรปุจังหวดันครปฐม ปี 2559. กลุ่มงานข้อมูลข่าวสารสนเทศและการสอื่สาร ส านักงานจังหวัด นครปฐม.
ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2558). รายงานพิเศษ: ภัยแลง้ผลกระทบภาคเกษตร. สบืค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2560 จาก http://www.ryt9.com/s/bmnd/2417174. เอกพันธ ์แป้นไทย. (2559). นครปฐมภัยแล้งชาวนาวอนนายกช่วยพักหนี้ ธ.ก.ส. 3 ปี. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2560 จาก http://www.77jowo.com/contents/427.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2020-01-08