การพัฒนาชุดฝึกอบรมสมรรถนะที่พึงประสงค์ สำหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับชำนาญการ สังกัดกรมสรรพสามิต

การพัฒนาชุดฝึกอบรมสมรรถนะที่พึงประสงค์ สำหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับชำนาญการ สังกัดกรมสรรพสามิต

ผู้แต่ง

  • ชวรัสย์ รูปโฉม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ชมสภุัค ครุฑกะ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • นวลละออ แสงสุข คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • สุรศกัดิ์ อมรรัตนศักดิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

ชุดฝึกอบรม, สมรรถนะ, สมรรถนะที่พึงประสงค์, นักวิชาการ สรรพสามิตระดับชำนาญการ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะที่พึงประสงค์ ส าหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับช านาญการ 2) สร้างชุดฝึกอบรม สมรรถนะที่พึงประสงค์ส าหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับช านาญการ และ 3) ประเมินชุดฝึกอบรมสมรรถนะที่พึงประสงค์ส าหรับนักวิชาการสรรพสามิต ระดับช านาญการ โดยเป็นการวิจัยและพัฒนา ซึ่งแบ่งการวิจัยเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาสมรรถนะส าหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับช านาญการ โดย การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 21 คน ด้วยเทคนิคเดลฟาย (delphi) จ านวน 3 รอบ 2) น าข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มาสร้างชุดฝึกอบรมสมรรถนะที่ พึงประสงค์ส าหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับช านาญการ ตามหลักการ เรียนรู้ของผู้ใหญ่ และ 3) ประเมินชุดฝึกอบรมด้วยการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินตนเองเกี่ยวกับสมรรถนะที่พึง ประสงค์ส าหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับช านาญการ โดยวัดก่อนและหลัง และวัดความคงทน 8 สัปดาห์ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ชุด ฝึกอบรมสมรรถนะที่พึงประสงค์ส าหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับช านาญการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ Paired Samples t-test ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. สมรรถนะที่พึงประสงค์ส าหรับนักวิชาการสรรพสามิตระดับช านาญ การ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดล้องกันว่าอยู่ในระดับความจ าเป็นมากถึง มากที่สุด ทั้งหมด 11 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการปฏิบัติงานตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย 2) ด้านความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับธุรกิจและอุตสาหกรรมที่ กรมสรรพสามิตก ากับดูแลรวมถึงองค์กรและระบบราชการ 3) ด้านความ เชี่ยวชาญในอาชีพและมุ่งผลสัมฤทธิ์ 4) ด้านภาวะผู้น า 5) ด้านการท างานเป็น ทีม 6) ด้านการพัฒนาตนเอง 7) ด้านการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ 8) ด้าน การสื่อสารและการติดต่อประสานงาน 9) ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ สร้างนวัตกรรม 10) ด้านการมุ่งเน้นบริการ และ 11) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ในการท างาน 2. ผลการสร้างชุดฝึกอบรมสมรรถนะที่พึงประสงค์ส าหรับนักวิชาการ สรรพสามิตระดับช านาญการ พบว่า ชุดฝึกอบรมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก และมีความสอดคล้องกันทุกองค์ประกอบ 3. ผลประเมินชุดฝึกอบรมสมรรถนะที่พึงประสงค์ส าหรับนักวิชาการ สรรพสามิตระดับช านาญการพบว่า 1) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีสมรรถนะที่พึง ประสงค์หลังสิ้นสุดการทดลองใช้ชุดฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการทดลองใช้ชุดฝึก อบรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมี สมรรถนะที่พึงประสงค์หลังสิ้นสุดการทดลองใช้ชุดฝึกอบรม 8 สัปดาห์กับหลัง สิ้นสุดการทดลองใช้ชุดฝึกอบรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดบั .05 และ 3) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อการใช้ชุดฝึกอบรมระดับ มากถึงมากที่สุด

Author Biographies

ชวรัสย์ รูปโฉม, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คณะพัฒนาทรพัยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ชมสภุัค ครุฑกะ, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คณะพัฒนาทรพัยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

นวลละออ แสงสุข, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คณะพัฒนาทรพัยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

สุรศกัดิ์ อมรรัตนศักดิ์, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คณะพัฒนาทรพัยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

References

กรมสรรพสามิต, ส านักงานบริหารทรัพยากรบุคคล. (2552). เล่ม 1 ระบบ การประเมินสมรรถนะบุคลากรกรมสรรพสามิต Competency. กรุงเทพฯ: ส านักงานบริหารทรัพยากรบคุคล. กรมสรรพสามิต, ส านักบริหารทรัพยากรบุคคล, ส่วนวิชาการบริหารทรัพยากร บุคคล. (2560). อัตราก าลังของข้าราชการกรมสรรพสามิต ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559. กรุงเทพฯ: ส านักงานบริหารทรัพยากร บุคคล.
จำเนียร จวงตระกูล. (2553). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ทฤษฎแีละการ ปฏิบตัิ. กรุงเทพฯ: บริษัท ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล จ ากัด.
ชิสากัญญ์ ปภาพันธ์เกยีรติ. (2556). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด ส าหรบัองค์กร เอกชน. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค าแหง.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2558). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. (2551). Training Roadmap ตาม Competency เขาทา กันอย่างไร. กรุงเทพฯ: สมาคมสง่เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญปีุ่่น).
พันธุ์พรหม รังสิธารานนท์. (2558). การพัฒนาสมรรถนะพนักงานฝ่าย ทรัพยากรมนุษย์ในบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนตแ์ละชิ้นส่วน. ดุษฎีนิพนธป์รัชญาดุษฎบีัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคา แหง.
ภัทรารัตน์ ตันนุกิจ. (2556). การพัฒนาชุดฝึกอบรมสมรรถนะส าหรบั ผู้บริหารทางการพยาบาลระดบัต้น โรงพยาบาลสังกัดส านักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดษุฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัย รามค าแหง.
รณภร จันทร์ลอย. (2557). การพัฒนาสื่อระบบออนไลน์เพื่อพัฒนา สมรรถนะหลักพนักงานธนาคารออมสิน. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต มหาวิทยาลยัรามค าแหง.
วรรณวิสา แย้มทัพ. (2558). การพัฒนาชุดฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพ พนักงานรักษาความปลอดภัย. ดุษฎีนพินธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค าแหง.
วารี วณิชปัญจพล. (2557). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสรา้ง สมรรถนะของผู้นิเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุข. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบณัฑิต มหาวิทยาลัยรามค าแหง.
สมชาติ ดีอุดม. (2558). การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลอีสาน. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบณัฑิต มหาวิทยาลัยรามค าแหง.
ส านักงานคณะกรรมการขา้ราชการพลเรือน. (2548). คู่มือสมรรถนะ ข้าราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง.
ส านักงานคณะกรรมการขา้ราชการพลเรือน. (2552). มาตรฐานและแนว ทางการก าหนดความรู้ความสามารถทกัษะและสมรรถนะที่จ าเป็น ส าหรับต าแหน่งขา้ราชการพลเรือนสามัญ. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. เสาวภาคย์ ถนอมศกัดิ์กุล. (2557). การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์ส าหรับ ผู้จัดการโครงการกลุ่มพัฒนาอสังหารมิทรัพย์.ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดษุฎี บัณฑิต มหาวิทยาลยัรามค าแหง.
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2556). 101 HR Tool for Success. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์. Allie, C. & Peter, R. (2011). Competency-Based Training and Its Impact on Worplace Learning in Australia, In Malloch, M., Cairns, L., Evans, K., & O’Connor, B. (Ed.). The Sage Handbook of Workplace Learning. (279-292).
London: Sage. Armstrong, M. (2003). A Handbook of Human Resource Management Practice. New York: Kogan Page Inc. Mello, J. A. (2011). Strategic Human Resource Management. (3rd ed.). Ohio: South Western, Cengage Learning.
Nadler, D. A. (1990). Role of Model in Organization Assessment, In Lawler, E. E., & Seashore, S. E. (Ed.), Organization Assessment Perspective on the Measurement of Behavior and Quality of Work Life. (119-131). New York: Wiley.
Noe, R. A. (2013). Employee Training and Development. (6th ed.). Singapore: McGraw-Hill.
Swanson, R. A. & Holton, E. F. (2009). Foundation of Human Resource Development. (2nd ed.). San Francisco: BerrettKoehler Publisher, Inc.
Voorhees, R. (2001). Competency-Based Learning Models: A Necessary Future. New Directions for Institutional Research, 2001(110), 1-13.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2020-01-08