การพัฒนาภูมิปัญญาการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ ของประชาชนในอำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
การพัฒนาภูมิปัญญาการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ ของประชาชนในอำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
คำสำคัญ:
การพัฒนาภูมิปัญญา, การจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ, วิสาหกจิชุมชนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการจัดทำบัญชี เพื่อ พัฒนาความรู้เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาภูมิ ปัญญาการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพของชุมชน เครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตการณ์ แบบสอบถาม โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ ตัวแทนที่สมัครใจจากประชาชน กลุ่มอาชีพ และวิสาหกิจชุมชน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างเพื่อศึกษาภูมิปัญญาการจัดท าบัญชีและเข้าร่วม อบรม จ านวน 90 คน และกลุ่มตัวอย่างการทดลองบันทึกบัญชี จ านวน 60 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและใช้โปรแกรมส าเร็จรูปวิเคราะห์ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการจัดท าบัญชีอย่างง่าย มีความ ต้องการให้หน่วยงานของรัฐจัดอบรมให้ความรู้ด้านการจัดท าบัญชี คิดเป็นร้อย ละ 56.00 จากการอบรมสามารถน าความรู้ไปฝึกปฏิบัติการได้จริงในระดับ ปานกลางค่าเฉลี่ย 3.22 เมื่อตรวจสอบความถูกต้องของการจัดท าบัญชี สามารถค านวณก าไร - ขาดทุน จากการประกอบอาชีพได้ถูกต้องมากที่สุด คิด เป็นร้อยละ 68.33 ผลการพัฒนาภูมิปัญญาการจัดท าบัญชีต้นทุนอาชีพ ผู้วิจัย ได้รวบรวมข้อมูลต้นทุนอาชีพและจัดท าคู่มือบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ (ฉบับ ประชาชนเรียนรู้อย่างง่าย) ส าหรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ภูมิปัญญาการ จัดท าบัญชีต้นทุนอาชีพที่มีความเหมาะสมตามลักษณะของการประกอบอาชีพ ของคนในชุมชน
References
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. (2553). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2562 จาก https://www.nesdb.go.th /ewt_dl_link.php?nid=2618.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). ภมูิปญัญาไทยในการจดัการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562 จาก https://www.moe.go.th/moe/th/news/ detail.php?NewsID=27231&Key=news_research. คณะพยาบาลศาสตร์ กาญจนบุรี มหาวทิยาลัยเวสเทิร์น. (2555). การจัดการ ความรู้. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2562 จาก http://www.western. ac.th/westernnew/facultyofwestern/fac_page.php?.
จิตรสิริ ขันเงิน. (2547). การศึกษาการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล: กรณีศึกษาโรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง สังกัดกระทรวงสาธารณสขุ. ดุษฎีนิพนธป์รัชญาดุษฎบีัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จินดา จอกแก้ว. (2559). การจัดการความรู้การจัดท าบัญชีและการบริหาร การเงินกลุ่มธุรกิจชา่งชุมชนบางบัวเขตบางเขนกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจยัเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 8(1), 22-41.
ธนาคารออมสิน. (2561). สมดุบญัชีรบั – จา่ยพอเพียง ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการออม. กรุงเทพฯ: ธนาคารออมสิน.
นัคมน เงินมั่น, พรสวรรค์ ศิริกาญจนาภรณ์ และจุลดิษฐ์ อุปฮาต. (2560). รูปแบบการท าบัญชีครัวเรือนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจครอบครัว. สืบค้น เมื่อ 5 มีนาคม 2562 จาก https://www.tcithaijo.org/index.php/ researchjournal-lru/article/download/106467/84298/
เนตรวดี เพชรประดับ, นิฟาตีฮะ ปัตนวงศ์, ยามีละ กาเซ็ง, ฮาลีเมาะ สาและ, นูรฮาพีนี สือนิ และรอบีบะ๊ มูซอ. (2556). ผลสัมฤทธิ์จากการ ให้บริการวิชาความรู้บัญชีต้นทุนต่อกลุ่มแม่บ้านหมู่ท ี่2 ต าบลโฆษิต อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส. วารสารมหาวิทยาลยันราธิวาส ราชนครินทร์, 5(4), 93-102.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก. (2561). โครงการสนับสนุน เทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทยหรือ ไอแทป (iTAP) แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2562 จาก https://www.e- manage.ac.th/ projectDetailPubic.aspx?pid=81.
วิทยาลยัเกษตรและเทคโนโลยีสตูล. (2562). หน่วยที่ 10 การทา บญัชี. สืบค้น เมื่อ 5 มกราคม 2561 จาก http://www.satunatc.ac.th/lms/mod/ resource/view.php?id=137.
วินิตยา สมบูรณ์. (2554). การรับสารสนเทศด้านการบญัชีครัวเรือนผ่านสื่อ ประชาสัมพันธ์ กรมตรวจบญัช ีสหกรณ์ของสมาชิกสหกรณ์ การเกษตรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปรมิณฑล. สารนิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัศรีนครินทร์วิโรฒ.
วรลักษณ์ วรรณโล, สุชาติ ลี้ตระกูล, วฒันา ยืนยง และชูศรี สุวรรณ. (2558). การพัฒนาหลกัสูตรการฝึกอบรมการจัดท าบัญชีธุรกจิชุมชนขนาดเล็ก โดยการมีสว่นร่วมของชุมชนในจังหวัดเชียงราย. วารสารสังคมศาสตร์ วิชาการ, 8(พิเศษ), 68-84.
วารีพร ชูศรี. (2560). แนวทางการบริหารจัดการของกลุ่มผู้ผลิตสินค้า กรงนกเขา OTOP ระดับ 5 ดาวเพื่อก้าวเข้าสู่อาเซียน กรณีศึกษากลุ่ม ผู้ผลิตบ้านหัวดินเหนือ หมู่ที่ 8 อ าเภอจะนะ จังหวัดสงขลา. วารสาร การจัดการสมัยใหม่, 15(2), 45-55.
ศูนย์บริการข้อมูลอา เภอ. (2560). อ าเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอด็. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2561 จาก http://www.amphoe.com/ menu.php?mid=1&am=502&pv=46.
ศิริรัตน์ เจนศิริศักดิ์ และสุภชัย พาหุมันโต. (2554). การศึกษาระบบบัญชี สำหรับกลุ่มผู้ผลิตโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัด อุบลราชธานี. วารสารวิทยาลัยการจัดการและสารสนเทศศาสตร ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 6(1), 75-89.
สุภัทรษร ทวีจันทร์. (2556). การบูรณาการบัญชีครัวเรือนเพื่อเสริมสร้าง ภูมิปัญญาทางบัญชีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา ชุมชนบ้านกลาง ตา บลขะยูง อ าเภออุทมุพรพิสัยจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 10(48), 7-15.
สุภาภรณ์ วิริยกจิจ ารูญ. (2556). รายงานการวิจัยเรื่อง แนวทางการส่งเสรมิ ศักยภาพการจดัทำบัญชีครัวเรือนที่เหมาะสมของชุมชนสันลมจอย ต าบลสุเทพ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: คณะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชยีงใหม่.
สรียา วจิิตรเสถียร. (2559). การพัฒนาประสิทธิภาพการจัดท าบัญชีครัวเรือน ของเกษตรกร. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์, 8(16), 101-112.
สำนักงานพัฒนาชุมชนอา เภอเสลภูมิ. (2560). แผนพัฒนาชุมชน ประจ าปี 2560. ร้อยเอ็ด: ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอเสลภูมิ.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2557). เจาะโครงการบัญชีต้นทุนอาชีพ สศก. เผย ช่วยเกษตรกรทา บญัชีเป็น รู้จักลด ต้นทุน และพึ่งตนเอง ได้. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจกิายน 2561จาก http://www.oae.go.th/ ewt_news.php?nid=17464&filename=new.
อภิชาติ ใจอารยี์. (2555). ภูมิปญัญาทอ้งถิ่นด้านเกษตรและสิ่งแวดล้อม. นครปฐม: ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อารยา องค์เอี่ยม และพงศ์ธารา วจิิตเวชไพศาล. (2561). การตรวจสอบ คุณภาพเครื่องมือ. วารสารวิสัญญีสาร, 44(1), 36-42.
Bogdan, R. C. & Biklen, S. K. (2003). Qualitative Research for Education: An Introduction to Theory and Methods. (4th ed ). Needtham Heights. MA: Aiiyn and Bacon.
Cohen, J. M. & Uphoff, N. T. (1981). Rural Development Participation: Concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation.
New York: RuralDevelopment Committee Center for International Studies, Cornell University.
Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M. (Ed.), Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son Inc.
Nunnally, J. C. & Bernstein, I. (1994). The Assessment of Reliability Psychometric Theory. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร