การศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ และส่วนประสมทางการตลาดกบัความภักดีของผู้ใช้บริการ ไปรษณีย์ไทยจังหวัดสมุทรสงคราม
การศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ และส่วนประสมทางการตลาดกบัความภักดีของผู้ใช้บริการ ไปรษณีย์ไทยจังหวัดสมุทรสงคราม
คำสำคัญ:
ความภักดีของผู้ใช้บริการ, สว่นประสมทางการตลาด, คุณภาพการบรกิารบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบลักษณะประชากรศาสตร์ของผู้ใช้บริการที่ประกอบไปด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน จ านวนที่ใช้บริการต่อเดือนกับความภักดี ของผู้ใช้บริการไปรษณีย์ไทยในจังหวัดสมุทรสงคราม 2) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยด้านคุณภาพการให้บริการกับความภักดีของผู้ใช้บริการไปรษณีย์ ไทยในจังหวัดสมุทรสงคราม 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดกับความภักดีของผู้ใช้บริการไปรษณีย์ไทยจังหวัดสมุทรสงคราม โดยการวิจัยครั้งนี้เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (questionnaire) ลักษณะ ค าถามปลายปิดที่สร้างขึ้นมาจากการทบทวนเอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการไปรษณีย์ไทยจังหวัดสมุทรสงคราม จ านวน 390 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการ วิเคราะห์สหสัมพันธ์ โดยข้อมูลที่ได้จะน ามาวิเคราะห์กับโปรแกรมส าเร็จรูป ทางสถิติ ผลการทดสอบพบว่า ผู้ใช้บริการที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศ หญิง จ านวน 223 คน พบว่า ปัจจัยด้านข้อมูลสถานภาพทั่วไปของผู้ใช้บริการ ได้แก่ เพศ และระดับการศึกษาที่แตกต่างกันสัมพันธ์กับความภักดีของ ผู้ใช้บริการไปรษณีย์ไทยในจังหวัดสมุทรสงคราม แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติอยู่ที่ .05 ในส่วนปัจจัยด้านคุณภาพการบริการกับปัจจัยความภักดี ของผู้ใช้บริการไปรษณีย์ไทยในจังหวัดสมุทรสงคราม พบว่า มีความสัมพันธ์ กันทุกด้านและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และในส่วนปัจจัยด้านส่วนประสม ทางการตลาดที่สัมพันธ์กับความภักดีของผู้ใช้บริการไปรษณีย์ไทยในจังหวัด สมุทรสงคราม พบว่า มีความสัมพันธ์กันทุกด้านเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
References
ไชยพล รื่นมล. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลตอ่ความภักดีของผู้ใชบ้ริการคาร์แคร์ ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณัฐพร ดิสนีเวทย์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าที่มตี่อตรา สินค้าร้านคาเฟ่ขนมหวานในห้างสรรพสินค้า. วิทยานพินธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยักรุงเทพ.
นิติพล ภูตะโชติ. (2561). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อบริการของไปรษณีย์ไทย จ ากัด. วารสารวชิาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 12(27), 85-96.
รัถยา สุขสวัสดิ์. (2556). การวัดคุณภาพการให้บริการและความภักดขีอง ธุรกิจเสริมในสถานีบริการน้ ามัน. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกจิมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอีสเทริ์นเอเชีย.
Aaker, D. A.(1991). Measuring Brand Equity Across Product and Market. California Management Review, 38(3). 102-120.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Test. (5th ed.). New York: Harper Collins.
Douglass, C. M. (2007). Design and Analysis of Experiments. (6th ed.). New York: John Wiley & Son, Inc.
Kotler, P (1997). Marketing Management: Analysis, Planning, Implemantation and Control. (14th Global ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed.). NewYork: Harper and Row.
Zeithaml, V. A., Parasuraman, A. & Berry, L.L. (1990). The nature and determinants of customer expectations of service. Journal of the Academy of Marketing Science, 21(1). 1-12.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร