ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ ในองค์การบริหารส่วนตำบลบางบัวทอง อำาเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ ในองค์การบริหารส่วนตำบลบางบัวทอง อำาเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
คำสำคัญ:
ความต้องการสวัสดกิารสังคม, ผู้สูงอายุบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความต้องการสวัสดิการสังคม ของผู้สูงอายุ และเปรียบเทียบความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ ใน องค์การบริหารส่วนต าบลบางบัวทอง อ าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี จ าแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคล โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย จากกลุ่ม ตัวอย่าง จ านวน 353 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรนา ได้แก่ จ านวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเปรียบเทียบ ได้แก่ การวิเคราะห์ ค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ ด้านภาพรวม มีความต้องการอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการแก้ไข ปัญหาความยากจนและด้อยโอกาส อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้าน สุขภาพอนามัย และด้านที่อยู่อาศัย ด้านความปลอดภัยในชีวิตด้านนันทนาการ ด้านการศึกษา อยู่ในระดับมากทุกด้าน ตามล าดับ เปรียบเทียบความต้องการ สวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ ในองค์การบริหารส่วนต าบลบางบัวทอง อ าเภอ บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี จ าแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ผู้สูงอายุที่มีเพศ การศึกษา และรายได้ต่างกัน มีความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุไม่ แตกต่างกันในทุกด้าน ผู้สูงอายุที่มีอายุต่างกัน มีความต้องการสวัสดิการสังคม ผู้สูงอายุ ด้านที่อยู่อาศัย และด้านการแก้ไขปัญหาความยากจนและด้อยโอกาส แตกต่างกัน ผู้สูงอายุที่มีสถานภาพต่างกันมีความต้องการสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ด้านความปลอดภัยในชีวิต และภาพรวมแตกต่างกัน และผู้สูงอายุที่มีอาชีพ ต่างกันมีความต้องการสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน และด้อยโอกาส และภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
กัมพล กล่าสีทอง. (2554). ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุใน เขตเทศบาลตา บลสิเกา อ าเภอสิเกา. ปญัหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
จันทร์เพญ็ ลอยแก้ว. (2555). ความต้องการในการได้รับสวัสดิการสังคม ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองอโยธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. นันทนา อยู่สบาย. (2556). ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุใน องค์การบริหารส่วนต าบลศีรษะจระเข้น้อย อ าเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา. มูลนิธิอารมณ์ พงศ์พงัน. (2561). สถานการณ์สวัสดิการในสังคมไทย 2018. สืบค้นเมื่อ 5 ธันวาคม 2561 จาก https://aromfoundation.org/2018.
วันชัย ชูประดิษฐ์. (2554). ความต้องการได้รับสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลต าบลลาทับ อ าเภอลาทบั จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรม ราชูปถัมภ์.
ศูนย์ข้อมูลประเทศไทย. (2560). จ านวนประชากรในต าบลบางบัวทอง. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2561 จาก http://nonthaburi.kapook.com.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2554). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบัที่ 2). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ส านักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ. (2561). เตรียมนับถอยหลัง คนไทยเตรียมขึ้น อันดับ 1 สังคมคนแก่เร็วสุดในอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561 จาก http://www.thansettakij.com/content/275632.
อุชุกร เหมือนเดช. (2552). ความต้องการในการได้รบัสวัสดกิารสังคมของผู้สงูอายุ ในเขตเทศบาล จังหวัดสมุทรปราการ. วทิยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed). New York: Harper and Row Publication.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร