ปัจจัยบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากร องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

ปัจจัยบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากร องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

ผู้แต่ง

  • ณภัทร์ วงศ์ทองศิริ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์
  • พิชิต รัชตพิบุลภพ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์

คำสำคัญ:

บรรยากาศองค์การ, ความผกูพันต่อองค์การ, การบริหารทรัพยากร มนุษย์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงปัจจัยบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อความ ผูกพันของบุคลากรองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) โดยมี วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) เปรียบเทียบความแตกต่างของความผูกพันต่อ องค์การของบุคลากร อพวช. จ าแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 2) ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบรรยากาศองค์การด้านโครงสร้างองค์การและด้าน ลักษณะงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร อพวช. และ 3) ศึกษา ปัจจัยบรรยากาศองค์การด้านโครงสร้างองค์การและด้านลักษณะงานที่มี อิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร อพวช. โดยประชากร คือ พนักงานและลูกจ้าง อพวช. ทุกระดับ จ านวน 256 คน โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างด้วย สถิติ t-test, F-test และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณด้วยวิธี Enter ผลการศึกษาพบว่า 1) บุคลากรที่มี เพศ อายุ ระยะเวลาในการ ปฏิบัติงาน และรายได้ที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรที่มีระดับการศึกษาและระดับต าแหน่งแตกต่างกัน มีความผูกพัน ต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ปัจจัย บรรยากาศองค์การ ด้านโครงสร้างองค์การและด้านลักษณะงาน มี ความสัมพันธ์ในทางบวกกับความผูกพันต่อองค์การในภาพรวมอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ .01 และ 3) ปัจจัยบรรยากาศองค์การด้านโครงสร้าง องค์การและด้านลักษณะงานที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การ คือ โครงสร้างการท างานและความมีอิสระในการทำงาน

Author Biographies

ณภัทร์ วงศ์ทองศิริ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์

 Faculty of Liberal Arts, Rajapruk University

พิชิต รัชตพิบุลภพ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ Faculty of Liberal Arts, Rajapruk University

References

กนกวรรณ วธันไทยนันท์. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันของ พนักงาน บริษัทชิโยดะอินทิเกร (ประเทศไทย) จ ากัด. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัศรีปทุม.
กานต์รวิภัสสร์ รื่นกลิ่น. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ ของข้าราชการชั้นประทวนชาย ในสังกัดกรมการขนส่งทหารบก. วิทยานพินธ์บริหารธุรกจิมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
กิติยา อินทรอุดม. (2556). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาล เมืองบ้านสวน อ าเภอเมืองชลบุรี จงัหวัดชลบุรี. วิทยานพินธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
นพวรรณ เล้าเกร็จ. (2552). ปัจจัยทมี่ผีลต่อความผูกพันต่อองค์การและ พฤติกรรมการทา งาน: กรณีศึกษา บรษิัท ทรูวิชันส์ จ ากัด (มหาชน). วิทยานพินธว์ิทยาศาตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
วิชิต อู่อ้น. (2553). การวิจัยและการสบืค้นข้อมูลธุรกิจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ศิริพร ศีตมโนชญ์. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของ พนักงานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์, 37(2), 36-50.
อนิรุจน์ มั่งคั่ง. (2556). ปัจจัยทมี่ีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของ พนักงาน: กรณีศึกษาพนักงานโรงแรมแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. วิทยานพินธ์บริหารธุรกจิมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค าแหง.
Likert, R. (1976). New Ways of Managing Conflict. New York: McGraw-Hill.
Porter, L. W., Bigley, G. A. & Steers, R. M. (2003). Motivation and Work Behavior. (7th ed). New York: McGraw-Hill/Irwin.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2020-01-08