พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมลูข่าวสารสิทธิของผสูู้งอายุ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์

พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมลูข่าวสารสิทธิของผสูู้งอายุ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์

ผู้แต่ง

  • วรัชญา ทิพย์มาลัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • สวรรยา ธรรมอภิพล คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การรับรู้สิทธิผู้สูงอาย, ุผู้สูงอายุ, เครือข่ายสังคมออนไลน์

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ของผู้สูงอายุ เพื่อศึกษาการรับรู้ข้อมูลข่าวสารสิทธิของผู้สูงอายุและ เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารสิทธิของผู้สูงอายุผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ด าเนินการโดยใช้แบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างที่ เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และเป็นสมาชิกของสมาคมฌาปนกิจ สงเคราะห์ดอกล าดวน ต าบลท่าข้าม อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จ านวน 300 คน ผลการศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างนิยมใช้เฟซบุ๊ก ผ่านโทรศัพท์มือถือ เพื่อติดต่อเพื่อนเก่า/ครอบครัว ใช้ในช่วงเวลา 11.01-15.00 น. ความถี่ในการใช้น้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ และระยะเวลาเข้าใช้ 1-2 ชั่วโมงต่อครั้ง การรับรู้ข้อมูลข่าวสารสิทธิ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยรับรู้ข้อมูลข่าวสารสิทธิของผู้สูงอายุผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ประเภท เฟซบุ๊ก แต่ส่วนใหญ่ยังต้องการรับรู้ผ่านการพูดคุยกับ เพื่อน/คนรู้จัก โดยสิทธิที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับรู้มากที่สุด ได้แก่ สิทธิด้าน การช่วยเหลือเงินเบี้ยยังชีพ ส่วนปัญหาและอุปสรรค พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ยังขาดความเข้าใจและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 

Author Biographies

วรัชญา ทิพย์มาลัย, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

สวรรยา ธรรมอภิพล, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

References

กันตพล บรรทัดทอง. (2557). พฤติกรรมการใช้เครือขา่ยสังคมออนไลน์และ ความพึงพอใจของกลุ่มคนผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานพินธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบณัฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ. (2553). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบับ ปรับปรุง ครั้งท ี่1 พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ: เทพเพ็ญวานิสย์. คู่มือสิทธิผู้สูงอายุ ตามพระราชบญัญตัิผู้สูงอายุ พ.ศ.2546. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
ชนภัทร ธีระพิริยะกุล. (2552). พฤติกรรมการเปดิรบัข่าวสารและความ ต้องการขา่วสารด้านการ ก ากับดแูลกิจการทดี่ีของพนักงาน บริษัท ทีโอที จา กัด (มหาชน). วิทยานพินธ์วารสารศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นันทิช ฉลองโภคศิลชัย และหทยัชนก สุขเจริญ. (2555). พฤติกรรมการใช้ เฟซบุค (Facebook) ของผู้สูงอายุในจังหวัดสมทุรปราการ. วิทยานพินธ์บริหารธุรกจิบัณฑิต มหาวทิยาลัยศิลปากร.
นันทนา อยู่สบาย. (2557). ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ ในองค์การบริหารส่วนตา บลศีรษะจระเข้น้อย อ าเภอบางเสาธง จังหวัดสมทุรปราการ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ปิยวัฒน์ เกตวุงศา และศุทธิดา ชวนวัน. (2558). ใครเป็นใครบนเครือข่าย สังคมออนไลน์: ความหลากหลายทางคุณลักษณะและพฤติกรรม. ในอารี จ าปากลาย และคณะ (บรรณาธกิาร), การประชมุวิชาการ ระดับชาต ิครั้งที่ 11 ประชากรและสงัคม 2558 “ความหลากหลาย ทางประชากรและสังคมในประเทศไทย ณ ปี 2558”. (15-28). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประสพชัย พสุนนท์. (2553). สถิติธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ท้อป.
ประสพโชค ตันสาโรจน์. (2559). บทบาทของเทศบาลเมืองกาญจนบุรีในการ ดูแลผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร.
มณฑาทิพย์ วุฒิ. (2553). ยุทธศาสตร์การจัดสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ ในพื้นที่เทศบาลต าบลอรัญญิก อ าเภอนครหลวง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฏัพระนครศรีอยุธยา.
วีรณัฐ โรจนประภา. (2560). พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีที่มีผลต่อระดับ ความสุขของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวชิาการ บัณฑิตวิทยาลยัสวนดุสติ, 13(1), 89-104.
สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์. (2557). สวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 7(1), 73-82.
เอมิกา เหมมินทร์. (2556). พฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้ จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) ของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสงัคมศาสตร ์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 9-10(16-17), 120-140.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2020-01-08