ความฉลาดทางอารมณ์ ความพึงพอใจในงาน และความสำเร็จในงานของนักบัญชีบริหารบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอของประเทศไทย
ความฉลาดทางอารมณ์ ความพึงพอใจในงาน และความสำเร็จในงานของนักบัญชีบริหารบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอของประเทศไทย
คำสำคัญ:
ความฉลาดทางอารมณ์, ความพึงพอใจในการทำงาน, ความสำเร็จในงานบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบผลกระทบของความฉลาดทางอารมณ์และความพึงพอใจในงานที่มีต่อความสำเร็จในงานของนักบัญชีบริหารบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอของประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักบัญชีบริหารบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอของประเทศไทย จำนวน 103 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย พบว่า ความฉลาดทางอารมณ์มีผลกระทบเชิงบวกกับความพึงพอใจในงาน และความสำเร็จในงาน และความพึงพอใจในงานมีผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในงาน ดังนั้น นักบัญชีบริหารที่ต้องการความสำเร็จในงานควรให้ความสำคัญกับการสร้างความฉลาดทางอารมณ์และความพึงพอใจในงาน
References
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2562). รายงานชื่อบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย ปี 2562. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2562 จาก http://www.set.ro.th/.
ทิพย์ประภา พิศาลกิตติคุณ. (2558). ความฉลาดทางอารมณ์ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน: กรณีศึกษา ผู้ปฏิบัติงานฝ่ายควบคุมระบบกำลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พัฒนกิจ ศักดิ์บูลยมาลย์ และวินัย หอมสมบัติ. (2559). ความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนที่ย้ายการจดทะเบียนจากตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอสู่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตรและการสื่อสาร, 11(1), 56-68.
Aaker, D. A., Kumar, V. & Day, G. S. (2001). Marketing Research. New York: John Wiley & Sons.
Bakotic, D. (2016). Relationship Between Job Satisfaction and Organizational Performance. Economic Research-EkonomskaIstraživanja, 29(1), 118–130.
Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision Making. (4th ed). USA: John Wiley and Sons.
Carmeli, A. (2003). The Relationship Between Emotional Intelligence and Work Attitudes, Behavior and Outcomes. Journal of Managerial Psychology, 18(8), 788–813.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Test. (5th ed.). New York: Harper Collins.
Gattiker, U. E., & Larwood, L. (1986). Subjective Career Success: A Study of Managers and Support Personnel. Journal of Business and Psychology, 1(2), 78-94.
Goleman, D. (1995). Emotional Intelligence. New York: Bantam Books.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis:
A Global Perspective. (7th ed.). New Jersey: Pearson Education International.
Mohamad, M., & Jais, J. (2016). Emotional Intelligence and Job Performance: A Study Among Malaysian Teachers. Procedia Economics and Finance, 35(2016), 674 – 682.
Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. New York: McGraw-Hill.
Shmailan, A. (2016). The Relationship between Job Satisfaction, Job Performance and Employee Engagement: An Explorative Study. Business Management and Economics, 4(1),1-8.
Shukla, S. A., B. & Ray, M. (2016). Emotional Intelligence and Job Satisfaction: An Empirical Investigation. Amity Global HRM Review, 6(1), 54-61.
Spector, P. E. (1997). Job Satisfaction: Application, Assessment, Causes and Consequence. California: Sage Publications.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร