ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตยางพารา ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตยางพารา ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
ส่วนประสมทางการตลาด, ประสิทธิภาพในการผลิต, ยางพาราบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตยางพาราในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบส่วนประสมทางการตลาด
ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตยางพาราในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี โดยจำแนกตาม อายุ รายได้เฉลี่ย
ต่อเดือน สถานภาพ และพฤติกรรมการปรับตัว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เกษตรกรชาวสวนยางพารา
ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีในกรณีที่ไม่ทราบจำนวนที่ชัดเจนจากสูตรคอแครน จำนวน 385
ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลมีค่าความเชื่อมั่น .94 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าความแตกต่างแปรปรวนของประชากร และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต
ช่องทางการจัดจำหน่าย แรงงาน และกายภาพ มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตยางพาราในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี 2) เกษตรกรที่มีอายุต่างกันมีความคิดเห็น ด้านกระบวนการผลิต ด้านแรงงาน และด้านกายภาพต่างกัน รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นด้านผลิตภัณฑ์ต่างกัน พฤติกรรมการปรับตัวต่างกันมีความคิดเห็นด้านผลิตภัณฑ์ ด้านกระบวนการผลิต ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านแรงงาน และด้านกายภาพต่างกัน ผลลัพธ์จากงานวิจัยนี้จะช่วยให้เกษตรกรมีแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางสูงสุดจากการวิเคราะห์ส่วนประสมทางการตลาด
References
กสิติ แก้วพาคำ. (2558). ปัจจัยด้านการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อปุ๋ยเคมีของเกษตรกร ชาวสวนยางพารา อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพะเยา.
กิตติยา โพธิบาย. (2557). ผลกระทบขององค์ประกอบเครือข่ายเกษตรกร ผู้ปลูกยางพาราที่มีต่อต้นทุนรวมกรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น.
นลพรรณ บุญฤทธิ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
น้ำทิพย์ เนียมหอม. (2560). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่ออาชีวศึกษาในวิทยาลัยเทคโนโลยีวิบูลย์บริหารธุรกิจรามอินทรา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.
ปราณี หลำเบ็ญสะ. (2559). การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดผลและประเมินผล. ยะลา: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา.
ปรียานุช ศิริไพบูลย์ทรัพย์. (2560). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ Kerry Express ในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรทิพย์ ใจจง. (2557). ปัจจัยเสี่ยงของกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของรถยางส่วนบน ในผู้ประกอบอาชีพกรีดยางพารา. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชรินทร์ ศรีวารินทร์. (2556). ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการตลาดกลางยางพาราของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร.
พันธุ์ดิฐ เทียนทอง. (2557). ปัจจัยการผลิตที่มีอิทธิพลต่อผลผลิตของโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา
ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ไพบูลย์ พลเมืองศรี. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกปุ๋ยของเกษตรกรชาวสวนยาง
จังหวัดบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ภาสกร ธรรมโชติ. (2556). การปรับตัวของระบบการผลิตยางพาราต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศในเขตภาคใต้ตอนบน. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์.
มนัสชนก บุญอุทัย. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตรของเกษตรกรชาวสวนยาง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ.
เมธี ไพรชิต. (2556). การหาปัจจัยที่มีผลต่อการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา: บริษัทสุธานี จํากัด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
รัฐชาติ พรรษา. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจปลูกยางพาราของเกษตรกรในอำเภอภูสิงห์
จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์มนุษยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์. (2557). ปัญหาของเกษตรกรชาวสวนยางพาราในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้. วิทยานิพนธ์วิทยาศาตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร. (2555). ข้อมูลวิชาการยางพารา. นนทบุรี. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.
สมจิตร สมแสวง. (2558). การประยุกต์ใช้ข้อมูลธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา ในการประเมินศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดอุบลราชธานี. (2560). ข่าวเกษตรและสหกรณ์ทั่วไทย. สืบค้นเมื่อ 17สิงหาคม 2562 จาก https://www.dailynews.co.th/agriculture/618427.
หนูพิศ ทิวาพัฒน์. (2556). ต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกยางพาราเพื่อทดแทนการปลูกลำไยของเกษตรกรในจังหวัดลำพูน. วิทยานิพนธ์เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อรุณพงษ์ คำศรี. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของลูกค้าในการให้บริการของตลาดประมูล ยางพารากรณีศึกษา: ตลาดยางพารา ตำบลบุเปือย อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
อารยา ภูโททิพย์. (2555). ความต้องการของเกษตรกรในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการปลูกยางพาราอำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
Changjeraja, W. & Daenseekaew, S. (2012). Community Participation in Analyzing Strategies to Improve the Quality of Life of Rubber Tree Farmers in the Mekong River Basin of Buengkan Province. Jourual of Nurses Association of Thailand, North-Eastern Division, 30(2), 166-174.
Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. (3rd ed.). New York: John Wiley and Sons Inc.
Hair, J. F. Et al. (2006). Multivariate data analysis. (6th ed.). New Jersey: Pearson Education International.
Kaewthummanukul, T. (2013). Working Posture and Musculoskeletal Disorders among Rubber Plantation Workers. Nursing Journal, 40(1), 1-10.
Kosol, K. (2013). The Quality of Life of The Rubber Agriculturist in The Economic Recession: A Case Study in Surat Thani and Nakhon Si Thammarat Provinces. SKRU Academic Journal, 6(1), 63-72.
Rubber Research Institute. (2012). Technical Data of Rubber 2012. Bangkok: The Agricultural Co-operative Federation of Thailand, LTD.
Wongphon, S. & Inmuong, U. (2012). Health Risk Assessment from Rubber Farming Activities in Nongsang District, Udonthani Province. KKU Journal for Public Health Research, 5(1), 13-20.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร