การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันธุรกิจขนส่งภายในประเทศ ของผู้ประกอบการภาคเอกชน

ผู้แต่ง

  • ฉวีวรรณ ศรีวงศ์จรรยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ชาญเดช เจริญวิริยะกุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษา 1)  สภาพขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจขนส่งภายในประเทศของผู้ประกอบการภาคเอกชน 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจขนส่งภายในประเทศของผู้ประกอบการภาคเอกชน และ 3) แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจขนส่งภายในประเทศของผู้ประกอบการภาคเอกชน โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ  เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 10 คน ประกอบด้วย ผู้ประกอบการที่ใช้บริการขนส่งสินค้า 4 คน ผู้ประกอบการรับขนส่งสินค้า 4 คน และเจ้าของท่าเรือเอกชน 2 คน คัดเลือกโดยวิธีแบบเจาะจง  เครื่องมือคือแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า  สภาพขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจขนส่งภายในประเทศของผู้ประกอบการภาคเอกชน คือ ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจในธุรกิจ มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ใช้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถมากขึ้น และควรพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบเพื่อให้สามารถแข่งขันได้มากขึ้น  ปัจจัย
ที่ส่งผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจขนส่งภายในประเทศของผู้ประกอบการภาคเอกชน ประกอบด้วย 1) ด้านการบริหารจัดการ 2) ด้านเทคโนโลยี 3) ด้านบุคลากร และ 4) ด้านผู้ประกอบการ และแนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจขนส่งภายในประเทศของผู้ประกอบการภาคเอกชน ประกอบด้วย 1) การทำระบบขนส่งทางรางให้มีมาตรฐาน 2) การสนับสนุนจากภาครัฐ และ 3) การนำเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กร

Author Biographies

ฉวีวรรณ ศรีวงศ์จรรยา, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ชาญเดช เจริญวิริยะกุล, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

References

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2555). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โอกาสทางการค้าและการ
ลงทุนของไทย. นนทบุรี: ส านักเอเชียตะวันออก.
กองยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์. (2561). รายงานดัชนีวัดประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์
ระหว่างประเทศ ปี 2561. กรุงเทพฯ: ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ.
กรุงเทพธุรกิจ. (2562). การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 10
ธันวาคม 2562 จากhttps://www.bangkokbiznews.com/recommended/detail/1233.
ประไพทิพย์ ลือพงษ์. (2556). การพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีสมรรถนะความสามารถในการแข่งขัน.
วารสารนักบริหาร, 32(4), 103-109.
ประภาศรีพงศ์ธนาพาณิช และคณะ. (2561). รายงานการวิจัยการศึกษาความสามารถทางการ
แข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป OTOP นนทบุรี. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
53 Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University
Vol.7 No.2 July - December 2020
55
Fantazy, K. A., Kumar, V. & Kumar, U. (2010). Supply Management Practices and
Performance in the Canadian Hospitality Industry. International Journal
of Hospitality Management, 29(4), 685–693.
Garavan, T. N. et al. (2001). Human Capital Accumulation: The Role of Human
Resource Development. Journal of European Industrial Training, 25(2001),
48–68.
Ghannad, N. & Ljungquist, U. (2012). Change of Entrepreneurial Agenda in a Core
Competence Context: Exploring the Transformation from Technology Focus
to Market Focus. International Journal of Entrepreneurial Venturing, 4(2),
148-167.
Knowles, M. S., Holton, E. F. & Swanson, R. A. (2011). The Adult Learner. (7th ed.).
Oxford: Elsevier.
Mehta, S. (2011). Human Resource Development for Competitive Advantage.
International Journal of Multidisciplinary Research, 1(1), 1-14.
Nam, T. & Pardo, T. (2011). Conceptualizing Smart City with Dimensions of
Technology, People and Institutions. In John, B. & Karine, N. (Eds),
The Proceedings of the 12th Annual International Conference on Digital
Government Research, June 12–15, 2011, 282-291, College Park, MD, USA.
Nasri, M., Iqbal, R. & Akhtar, C. S. (2019). Factors Affecting Growth of Women
Entrepreneurs in Pakistan. Pakistan Administrative Review, 3(1), 35-50.
Ngigi, S., McCormick, D. & Kamau, P. (2018). Entrepreneurial Leadership Competencies
in the 21st Century: An Empirical Assessment. Africa Management Review, 8(2),
1-17.
Nyoni, T. (2017). An Empirical Investigation of Factors Affecting The Performance
of Women Entrepreneurs in Harare: A Case of Food Vendors. MPRA Paper
No.87523.
Porter, M. E. (1999). The Microeconomic Foundations of Economic Development
in The Global Competitiveness Report. Switzerland: World Economic
Forum.
54
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2556). การใช้ประโยชน์จากระบบรถไฟที่เชื่อมโยงประเทศ
เพื่อนบ้าน เพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของภูมิภาค. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สมชาย ปฐมศิริ. (2552). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการขนส่ง. กรุงเทพฯ: ส านักงานคณะกรรมการ
อุดมศึกษา.
ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: ส านักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2561). แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงคมนาคม
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564).
กรุงเทพฯ: ส านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร.
ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). รายงานโลจิสติกส์ของประเทศไทย
ประจ าปี2561. กรุงเทพฯ: ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Baran, M. & Ktos, M. (2014). Managing An Intergenerational Workforce as a Factor of
Company Competitiveness. Journal of International Studies, 7(1), 94-101.
Bazerman, M. H. & Moore, D. A. (2008). Judgment in Managerial Decision Making.
(7th ed.). New York: Wiley.
Bendary, A. N. & Minyawi, E. A. (2015). Entrepreneurial Competencies effect on Small
and Medium Enterprises Performance through the mediation effect of
Psychological Contracting of Outsourcing. International Journal of Business
and Economic Development, 3(2), 243-254.
Burmeister, K. & Schade, C. (2007). Are Entrepreneurs’ Decisions more Biased? An
Experimental Investigation of the Susceptibility to Status Quo Bias. Journal of
Business Venturing, 22(2007), 340–362.
Chanaron, J. J. & Jolly, D. (2015). Technological Management: Expanding The Perspective
of Management of Technology. Management Decision, 37(8), 613-620.
Donat, B. (2010). Impact of Technology on the Business Strategy Performance
Relationship in Building Core Competence in Uganda Small Medium
Enterprises (SME’s). In Deng, M. & Ye, J. (Eds), Proceedings of the 7th
International Conference on Innovation & Management, 39-43.
54 วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563
55
Fantazy, K. A., Kumar, V. & Kumar, U. (2010). Supply Management Practices and
Performance in the Canadian Hospitality Industry. International Journal
of Hospitality Management, 29(4), 685–693.
Garavan, T. N. et al. (2001). Human Capital Accumulation: The Role of Human
Resource Development. Journal of European Industrial Training, 25(2001),
48–68.
Ghannad, N. & Ljungquist, U. (2012). Change of Entrepreneurial Agenda in a Core
Competence Context: Exploring the Transformation from Technology Focus
to Market Focus. International Journal of Entrepreneurial Venturing, 4(2),
148-167.
Knowles, M. S., Holton, E. F. & Swanson, R. A. (2011). The Adult Learner. (7th ed.).
Oxford: Elsevier.
Mehta, S. (2011). Human Resource Development for Competitive Advantage.
International Journal of Multidisciplinary Research, 1(1), 1-14.
Nam, T. & Pardo, T. (2011). Conceptualizing Smart City with Dimensions of
Technology, People and Institutions. In John, B. & Karine, N. (Eds),
The Proceedings of the 12th Annual International Conference on Digital
Government Research, June 12–15, 2011, 282-291, College Park, MD, USA.
Nasri, M., Iqbal, R. & Akhtar, C. S. (2019). Factors Affecting Growth of Women
Entrepreneurs in Pakistan. Pakistan Administrative Review, 3(1), 35-50.
Ngigi, S., McCormick, D. & Kamau, P. (2018). Entrepreneurial Leadership Competencies
in the 21st Century: An Empirical Assessment. Africa Management Review, 8(2),
1-17.
Nyoni, T. (2017). An Empirical Investigation of Factors Affecting The Performance
of Women Entrepreneurs in Harare: A Case of Food Vendors. MPRA Paper
No.87523.
Porter, M. E. (1999). The Microeconomic Foundations of Economic Development
in The Global Competitiveness Report. Switzerland: World Economic
Forum.
55 Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University
Vol.7 No.2 July - December 2020
57
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา อ าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร
เพื่อเพิ่มความสามารถทางเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
Product Development of the Elderly Group at Kham Konta Community,
Sai Mun District, Yasothon Province in Order
to Increase Creative Economic Competence
รัตนภรณ์ แซ่ลี้1*
โชฒกามาศ พลศรี2 ศุภกัญญา เกษมสุข3
1,2,3คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
Rattanaporn Saelee1* Chottagamart Polsri2 Supakanya Kasamsuk3
1,2,3Faculty of Business Administration and Management, Ubon Ratchatani Rajabhat University *
Corresponding Author E-mail: [email protected]
(Received: October 11, 2020; Accepted: November 10, 2020)
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาศักยภาพและความต้องการในการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา อ าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร 2) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ
กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา อ าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร เพื่อเพิ่มความสามารถทางเศรษฐกิจ
เชิงสร้างสรรค์3) เพื่อศึกษาการยอมรับผลิตภัณฑ์ใหม่ของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์ของผู้กลุ่มสูงอายุ
ชุมชนค าครตา ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา อ าเภอทรายมูล จังหวัด
ยโสธร และผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การอภิปราย
กลุ่มจากกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา จ านวน 25 ราย และแบบสอบถามโดยเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
ทดลองที่เป็นผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี จ านวน 100 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา
ผลการวิจัย 1) ศักยภาพและความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชน
ค าครตา อ าเภอทรายมูลจังหวัดยโสธร พบว่า กลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนมีศักยภาพค่อนข้างสูง เนื่องจาก
มีความเข้มแข็งในการรวมกลุ่ม และมีการท ากิจกรรมในชุมชนร่วมกันอย่างสม่ าเสมอ นอกจากนี้ยังมี
ความสามารถในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย และเป็นสมาชิกของกลุ่มวิสาหกิจอาชีพต่าง ๆ อีก
ด้วย โดยกลุ่มมีความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปเป็นอาหารจากปลาส้ม 2) ผลการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา พบว่ากลุ่มต้องการพัฒนาเป็นปลาส้มสมุนไพรทรงเครื่อง
แบบปลาส้มฟูเนื่องจากมีต้นทุนการผลิตที่ต่ ากว่าแบบอื่น และเป็นการใช้เนื้อปลาอย่างคุ้มค่า
และทางกลุ่มมีความสามารถในการผลิตได้ 3) การศึกษาการยอมรับผลิตภัณฑ์ใหม่ของผู้บริโภคต่อ
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา พบว่า ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อหากสินค้ามีวางจ าหน่าย
56
Sarwoko, E. et al. (2013). Entrepreneurial Characteristics and Competency as
Determinants of Business Performance in SMEs. IOSR Journal of Business
and Management, 7(3), 31-38.
Songling, Y. et al. (2018). The Role of Government Support in Sustainable Competitive
Position and Firm Performance. Sustainability, 10(10), 3495.
Stefanikova, L. & Masarova, G. (2014). The Need of Complex Competitive Intelligence.
Procedia - Social and Behavioral Sciences, 110, 669 – 677.
Tuan, N. P. & Yoshi, T. (2010). Vertical Linkage and Firm’s Performance in Supporting
industries in Vietnam. Asian Journal of Management Research, 1(1), 1-14.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30