บทบาทของภาวะผู้น ากับห่วงโซ่อุปทานของผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง ขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดระยอง

ผู้แต่ง

  • ินตรา บุญเกิด คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
  • เพชรรัตน์ วิริยะสืบพงศ์ คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ปนัดดา จั่นเพชร Faculty of Management and Tourism, Burapha University

คำสำคัญ:

ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้างขนาดกลางและขนาดย่อม, ภาวะผู้นำ, ห่วงโซ่อุปทาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส ารวจปัญหาและอุปสรรคด้านภาวะผู้น ากับการจัดการ
ห่วงโซ่อุปทาน และเพื่อศึกษาบทบาทของภาวะผู้น ากับห่วงโซ่อุปทานของผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีก
วัสดุก่อสร้างขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่
ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้างขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดระยอง จ านวน 15 คน ใช้
วิธีการสุ่มแบบเจาะจง โดยพิจารณาความสอดคล้องกับเป้าหมายงานวิจัย โดยเจาะจงสัมภาษณ์
ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้างขนาดกลางและขนาดย่อม ทุกอ าเภอในจังหวัดระยอง
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา คือ จ านวน ร้อยละ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มีภาวะผู้น าทั้งแปดแบบมาใช้ใน
การบริหารงานโดยใช้กระบวนการห่วงโซ่อุปทาน โดยผลที่ได้จากการวิเคราะห์พบปัญหาและอุปสรรค
ที่เกิดในกระบวนการห่วงโซ่อุปทานมีดังนี้ ด้านการวางแผน ด้านการจัดซื้อจัดหา ด้านการขนส่ง และ
ด้านการส่งคืน งานวิจัยชิ้นนี้ได้จัดท าข้อเสนอแนะให้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
ขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดระยอง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน

Author Biographies

ินตรา บุญเกิด, คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

เพชรรัตน์ วิริยะสืบพงศ์, คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

ปนัดดา จั่นเพชร, Faculty of Management and Tourism, Burapha University

คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

References

กฤษดา น่วมจิตร์. (2558). ภาวะผู้น าที่มีผลต่อความพึงพอใจในการท างาน: กรณีศึกษา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
กัลยาณี บัณฑิตชาติ. (2557). ภาวะผู้น าของผู้บริหารสถานศึกษาเขาสมิง สังกัดส านักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ขวัญตา เกื้อกูลรัฐ. (2554). ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา
ขนาดกลาง อ าเภอโพธาราม สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี
เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ชุติเดช วิศาลกิตติ. (2555). การจัดการห่วงโซ่อุปทานของสินค้าผักปลอดภัยในเขตอ าเภอ
ก าแพงแสน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธัญญามาส โลจมานนท์. (2557). ภาวะผู้น าและแรงจูงใจในการทางานท างานที่ส่งผลต่อความคิด
สร้างสรรค์ของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท ซิลลิค ฟาร์มา จ ากัด. วิทยานิพนธ์
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธีรเดช ริ้วมงคล. (2556). การท างานเป็นทีม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามค าแหง.
เบญจมาศ โตส้ม. (2557). ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดส านักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยบูรพา.
พันทิวา สุพัฒนาภรณ์. (2556). ภาวะผู้น าที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กร กรณีบริษัท ไทยอกริฟู้ดส์
จ ากัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ภัทรกร วงศ์สกุล. (2555). ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลของการบริหารโรงเรียน
สังกัดกรุงเทพมหานคร ในเขตลาดกระบัง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
รัฐบาลไทย. (2562). สรุปข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรี เรื่อง ร่างกฎกระทรวงก าหนดลักษณะ
ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2562 จาก
https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/24831.
193 Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University
Vol.7 No.2 July - December 2020
195
อรรถวิท ชื่นจิตต์. (2557). ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง และวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อแรงจูงใจ
ในการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทเอกชนรุ่นเจนเนอเรชั่นวายในเขตกรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Supply Chain Councill. (2012). Supply Chain Operations Reference Model Revision
11.0. Available on 22 April 2019 from https://docs.huihoo.com/scm/supplychain-operations-reference-model-r11.0.pdf.
World Bank. (2016). Thailand Economic Monitor 2016: Service as a New Driver
Growth. Available on 22 April 2019 from http://documents.worldbank.org/
curated/en/560621548324489441/pdf/133986-WP-23-1-2019-17-16-28-TEM
ServicesasaNewDriverofGrowth.pdf.
Voice TV. (2017). เจาะโอกาสธุรกิจคลื่นลูกใหม่ใน EEC. สืบคืนเมื่อ 22 เมษายน 2562จาก
https://www.voicetv.co.th/read/498565.
194
รัตนาวรรณ เวศนานนท์. (2552). ภาวะผู้น าเชิงปฏิรูปกับความพึงพอใจในงาน ประสิทธิภาพการ
ท างาน และการไม่ลาออกจากงาน ของพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ ากัด (มหาชน).
วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วรางคณา กาญจนพาที. (2556). ภาวะผู้น าและภาวะผู้ตามที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลขององค์กร
กรณีศึกษา ธนาคารเพื่อการส่งออกและน าเข้าแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์. (2559). ผลกระทบของภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อคุณลักษณะความเป็น
ผู้ประกอบการในสถานประกอบการท่องเที่ยว. BU ACADEMIC REVIEW, 15(2), 29-41.
ศิริภัทร ดุษฎีวิวัฒน์. (2555). ภาวะผู้น าที่มีผลต่อขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน
ธนาคารออมสิน ส านักงานใหญ่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2559). ธุรกิจวัสดุก่อสร้างปรับกลยุทธ์รุกและรับฝ่าเศรษฐกิจครึ่งปีหลัง 59.
สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2562 จาก https://www.kasikornbank.com/th/business/
sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/
ConstructionMaterialStrategy.pdf.
สกล พันธมาส. (2557). ภาวะผู้น าของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ
ครูผู้สอน โรงเรียนสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2.
วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
สมเกียรติ บาลลา. (2554). ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การ
แห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา อ าเภอเมืองปทุมธานี สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล.
สุกฤษฎิ์ ขวัญเมือง. (2559). การศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะผู้น าแบบสร้างความเปลี่ยนแปลง
ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการสังกัด
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรพงษ์ คงสัตย์ และธีรชาติ ธรรมวงค์. (2551). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC).
สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2562 จาก https://www.mcu.ac.th/article/detail/14329.
สุไหลมาน บิลหีม. (2555). แบบภาวะผู้น าของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยทักษิณ.
194 วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563
195
อรรถวิท ชื่นจิตต์. (2557). ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง และวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อแรงจูงใจ
ในการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทเอกชนรุ่นเจนเนอเรชั่นวายในเขตกรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Supply Chain Councill. (2012). Supply Chain Operations Reference Model Revision
11.0. Available on 22 April 2019 from https://docs.huihoo.com/scm/supplychain-operations-reference-model-r11.0.pdf.
World Bank. (2016). Thailand Economic Monitor 2016: Service as a New Driver
Growth. Available on 22 April 2019 from http://documents.worldbank.org/
curated/en/560621548324489441/pdf/133986-WP-23-1-2019-17-16-28-TEM
ServicesasaNewDriverofGrowth.pdf.
Voice TV. (2017). เจาะโอกาสธุรกิจคลื่นลูกใหม่ใน EEC. สืบคืนเมื่อ 22 เมษายน 2562จาก
https://www.voicetv.co.th/read/498565.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30