ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงจากเกษตรกรเป็น Smart Farmer เพื่อเป็นแนวทางพัฒนา การตลาดตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการเกษตรของบ้านหนองขอน ต าบลม่วงสามสิบ อ าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • อัญญาณี อดทน คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • วลัยพร สุขปลั่ง คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง, เกษตรกรปราดเปรื่อง, เศรษฐกิจสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงจากเกษตรกรบ้านหนองขอน
ต าบลม่วงสามสิบ อ าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี เป็น Smart Farmer และ 2) เพื่อหา
แนวทางพัฒนาการตลาด ตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการเกษตรในบ้านหนองขอน ต าบล
ม่วงสามสิบ อ าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ด าเนินการศึกษาโดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ
ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเกษตรกรบ้านหนองขอน จ านวน 52 ราย การประชุมกลุ่มแบบมีส่วน
ร่วม แลกเปลี่ยนแนวคิด การเปิดเวทีชุมชน จัดฝึกอบรม ศึกษาดูงาน และตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อมูลแบบสามเส้าด้านวิธีการ โดยวิเคราะห์ สรุปและน าเสนอผลการศึกษาในรูปแบบพรรณนาความ
ผลการศึกษาพบว่า 1) ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงจากเกษตรกรเป็น Smart Farmer มีจ านวน 10
ราย มีความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง มีทัศนคติที่ดีต่อการท าเกษตรแบบปลอดภัย เกษตรกรมีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติทั้ง 6 ด้านของการเป็น Smart Farmer คือ ด้านความรู้ในเรื่อง
การเกษตรที่ท าอยู่ ด้านข้อมูลในการตัดสินใจ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด ด้าน
คุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม มีความ
ภาคภูมิใจในอาชีพเกษตรกร 2) แนวทางพัฒนาการตลาดตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์
บ้านหนองขอน โดยการน าผลผลิตที่เป็นผักปลอดสารของกลุ่มเกษตรกรบ้านหนองขอน มาวาง
จัดจ าหน่ายในตลาดอินทรีย์ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานผักท้องถิ่นปลอดสารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย
ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม โดยน าภูมิปัญญาท้องถิ่น ผัก สมุนไพรท้องถิ่น ที่สามารถผลิตได้ในครัวเรือน
197 Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University
Vol.7 No.2 July - December 2020
199
Keywords: Transformational Leadership, Smart Farmer, Creative Economy
บทน า
จากสภาพปัญหาในปัจจุบันเกี่ยวกับราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ า โดยเฉพาะราคาข้าว
ซึ่งผลผลิตของเกษตรกรไทยส่วนใหญ่เป็นผลผลิตทางเกษตรประเภทข้าว และอาชีพส่วนใหญ่ของ
เกษตรไทยเป็นอาชีพทางการเกษตร เช่น ท านา ท าสวน ท าไร่ ส่งผลกระทบต่อรายได้ในครัวเรือน/ปี
ของเกษตรกรลดลงเนื่องจากต้นทุนในการผลิตข้าวสูงขึ้น แต่ราคาขายข้าวเปลือกลดลง ส่งผลให้
เกษตรกรขาดทุนในการผลิตข้าวเนื่องจากราคาข้าวเปลือกของไทยส่วนใหญ่จะอิงกับราคาข้าวของ
ตลาดโลก ทั้งกลไกของอุปสงค์และอุปทานของตลาดข้าวในประเทศและตลาดข้าวของโลกที่มี
การผันผวนตามสภาพเศรษฐกิจ สภาพภูมิอากาศและฤดูกาลของผลผลิต เป็นต้น ส่งผลให้ภาค
การเกษตรของไทยต้องเผชิญกับปัญหาและความท้าทายหลายประการ เช่น การขาดความรู้ของ
เกษตรกรในการผลิตสินค้าการเกษตรที่ได้คุณภาพ มาตรฐาน ปลอดสารเคมี ปัญหาผลผลิตล้นตลาด
ปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ปัญหาการขาดเทคโนโลยีทางด้านการเกษตรที่ช่วยลดต้นทุนการผลิต
การขาดแคลนน้ าสลับกับปัญหาอุทกภัย ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมเนื่องจากการใช้สารเคมี
ในภาคเกษตรและการเติบโตของเมือง ปัญหาการแทรกแซงราคาสินค้าเกษตรและความท้าทาย
จากภายนอก เช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การกีดกันทางการค้าที่รุนแรงขึ้น การเปิด
เสรีการค้าสินค้าเกษตร และการเปลี่ยนแปลงของตลาดโลก ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการ
แข่งขันและความยากจนของเกษตรกรรายย่อย อันน าไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ าของรายได้ของ
ประเทศในที่สุด (อนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, 2559) จากปัญหาของเกษตรกรที่ได้กล่าวมาข้างต้นกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ (2559) ได้จัดท าแผนยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. 2560 – 2564
โดยในแผนยุทธศาสตร์นี้มีจุดเน้นที่ส าคัญ คือ การใช้เครื่องมือส่งเสริมการเกษตรในการด าเนินงาน
มองภาพการท างานที่เชื่อมโยงกัน ทั้งในมิติของพื้นที่ คน สินค้า เพื่อให้เกิดผลส าเร็จตามเป้าหมายของ
งานส่งเสริมการเกษตร คือ เกษตรกรได้รับการพัฒนาให้เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
และเกษตรแปลงใหญ่ เพื่อพัฒนาผลิตสินค้าเกษตรให้เป็นสินค้าที่มีมาตรฐาน มีคุณภาพ ปลอดภัย
เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้และสินค้าเกษตรมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน
สามารถแข่งขันได้ อยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาเกษตรกร พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร และ
ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง มีแนวทางการด าเนินงานที่ส าคัญ คือ 1) พัฒนาเกษตรกรและองค์กร
เกษตรกรได้รับการพัฒนาเป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง เกษตรกรรุ่นใหม่ และเกษตรแปลงใหญ่ 2) สินค้า
เกษตรมีคุณภาพ 3) ภาคการเกษตรมีความเข้มแข็ง มั่นคง และยั่งยืนบนพื้นฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ส าหรับข้อมูลการพัฒนาเกษตรกรในประเทศไทยให้เป็น Smart Farmer พบว่า ในปี
198
เพาะปลูกและดูแลรักษาได้ง่าย มีประโยชน์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าท้องถิ่นของกลุ่มเกษตรกร
บ้านหนองขอน โดยใช้กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์ด้านราคา กลยุทธ์ด้านช่องทางการจัดจ าหน่าย
และกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดสินค้าผักปลอดสาร

Author Biographies

อัญญาณี อดทน, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

วลัยพร สุขปลั่ง, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

References

กนกวรา พวงประยงค์. (2561). บทบาทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์และพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์
ในการพัฒนายกระดับวิสาหกิจชุมชนไทย. วารสารพัฒนศาสตร์, 1(1), 220-252.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2559). แผนยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. 2560–2564.
กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2561). การพัฒนา Smart Farmer ตามนโยบาย ต่อ เติม แต่ง.
สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2561 จาก https://ssnet.doae.go.th/wp-content/SmartFarmer.pdf.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2554). การวิเคราะห์สถิติ สถิติส าหรับการบริหารและวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 13).
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เจษฏา นิตยาจาร. (2560). การพัฒนาเกษตรกรผู้ผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่ฟาร์มขนาดเล็ก
ให้เป็น Smart Farmers. กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.).
ธนกฤต คงเมือง และคณะ. (2561). การพัฒนาศักยภาพการผลิตและการจัดการผลผลิตของ
เครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่ กรณีศึกษากลุ่มยังสมาร์ทฟาร์มเมอร์ จังหวัดมหาสารคาม.
กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.).
บุญตา ก าพุธ. (2561). เกษตรกรบ้านหนองขอน. ที่ท าการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 4 ต าบลม่วงสามสิบ
อ าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี. สัมภาษณ์. 23 ธันวาคม 2561.
ประคอง สีแดง. (2560). ผู้ใหญ่บ้านหนองขอน. ที่ท าการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 4 ต าบลม่วงสามสิบ
อ าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี. สัมภาษณ์. 18 มกราคม 2560.
พฤติพร จินา และคณะ. (2561). รูปแบบชีวิตวิถีทางเลือกและการพึ่งตนเองเพื่อความยั่งยืน
ของเกษตรกรรุ่นใหม่ในจังหวัดล าพูน. กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.).
211 Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University
Vol.7 No.2 July - December 2020
213
วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท างานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา
สายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
Organizational Culture Affected Work Efficiency of University
Support Officer at Nakhonratchasima Rajabhat University
รัมย์ประภา บุญทะระ1* สุวัฒนา ตุ้งสวัสดิ์2
1,2คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
Ramprapa Boontara1*
Suwattana Tungsawad2
1,2 Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Isan
*Corresponding Author E-mail: ramprapaboland88@gmail.com
(Received: January 21, 2020; Accepted: April 24, 2020)
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท างาน
ของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างใน
การวิจัย คือ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จ านวน
217 คน โดยใช้วิธีการค านวณกลุ่มตัวอย่างเป็นระดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วน โดยเลือกตัวอย่างจาก
แต่ละกลุ่มตามสัดส่วนประชากร ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ
เชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ
เชิงอนุมานเพื่อทดสอบสมมติฐาน โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์กรลักษณะเชิงสร้างสรรค์ ส่งผลกระทบเชิงบวก
ต่อประสิทธิภาพการท างานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา (p < .01) และวัฒนธรรมองค์กรลักษณะตั้งรับ-เฉื่อยชา ส่งผลกระทบเชิงบวก
ต่อประสิทธิภาพการท างานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา (p < .05)
ค าส าคัญ: วัฒนธรรมองค์กร ประสิทธิภาพการท างาน การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Abstract
This research aimed to examine organizational culture affected work
performance of university support officer in Nakhonratchasima Rajabhat University. The
212
พิมุกต์ สมชอบ และคณะ. (2558). การเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มและการตลาดของธุรกิจ
ชุมชนข้าวหอมทุ่ง เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นบ้านหัวดอน อ าเภอเขื่องใน
จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้น า ทฤษฎี และแนวทางสู่การพัฒนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สวรรค์ ลาขุมเหล็ก. (2556). ศึกษาองค์ความรู้การปลูกผักอินทรีย์เพื่อขยายผลสู่เกษตรกรรุ่นใหม่
บ้านอุปราช บ้านโนนตาล ต าบลท่าสองคอน อ าเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. กรุงเทพฯ:
ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
สุชาติ จรประดิษฐ์ อดิลล่า พงศ์ยี่หล้า และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2557). อิทธิพลของการใช้แนวคิด
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และคุณลักษณะของผู้ประกอบการ
ที่มีต่อความส าเร็จทางการตลาดของสินค้าหนึ่งต าบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระดับ 5 ดาว
ในประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(88), 170-195.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ:
สามลดา.
อนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ. (2559). รายงานการวิจัยผลกระทบการส่งออกสินค้าเกษตรที่มีต่อรายได้
และการจ้างงานในระบบเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.
Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30