การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา อ าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร เพื่อเพิ่มความสามารถทางเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค

ผู้แต่ง

  • รัตนภรณ์ แซ่ลี้ คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • โชฒกามาศ พลศรี คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • ศุภกัญญา เกษมสุข คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

การพัฒนาผลิตภัณฑ์, ความสามารถทางเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์, กลุ่มผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาศักยภาพและความต้องการในการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา อ าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร 2) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ
กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา อ าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร เพื่อเพิ่มความสามารถทางเศรษฐกิจ
เชิงสร้างสรรค์3) เพื่อศึกษาการยอมรับผลิตภัณฑ์ใหม่ของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์ของผู้กลุ่มสูงอายุ
ชุมชนค าครตา ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา อ าเภอทรายมูล จังหวัด
ยโสธร และผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การอภิปราย
กลุ่มจากกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา จ านวน 25 ราย และแบบสอบถามโดยเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
ทดลองที่เป็นผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี จ านวน 100 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา
ผลการวิจัย 1) ศักยภาพและความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชน
ค าครตา อ าเภอทรายมูลจังหวัดยโสธร พบว่า กลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนมีศักยภาพค่อนข้างสูง เนื่องจาก
มีความเข้มแข็งในการรวมกลุ่ม และมีการท ากิจกรรมในชุมชนร่วมกันอย่างสม่ าเสมอ นอกจากนี้ยังมี
ความสามารถในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย และเป็นสมาชิกของกลุ่มวิสาหกิจอาชีพต่าง ๆ อีก
ด้วย โดยกลุ่มมีความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปเป็นอาหารจากปลาส้ม 2) ผลการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา พบว่ากลุ่มต้องการพัฒนาเป็นปลาส้มสมุนไพรทรงเครื่อง
แบบปลาส้มฟูเนื่องจากมีต้นทุนการผลิตที่ต่ ากว่าแบบอื่น และเป็นการใช้เนื้อปลาอย่างคุ้มค่า
และทางกลุ่มมีความสามารถในการผลิตได้ 3) การศึกษาการยอมรับผลิตภัณฑ์ใหม่ของผู้บริโภคต่อ
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนค าครตา พบว่า ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อหากสินค้ามีวางจ าหน่าย

Author Biographies

รัตนภรณ์ แซ่ลี้, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

โชฒกามาศ พลศรี, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

ศุภกัญญา เกษมสุข, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

References

แก่นฟ้า แสนเมือง. (2556). การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อผลิตก๊าซหุงต้มของชุมชน
ศีรษะอโศก จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี, 4(1), 4-20, อ้างจาก Glaser, B. & Strauss, A. (1967). The Discovery
of Grounded Theory: Strategies for Qualitative Research. Chicago: Aldine.
กุลชญา แว่นแก้ว. (2559). ผลกระทบของกลยุทธ์การจัดการต้นทุนที่เหมาะสมที่มีต่อ ประสิทธิภาพ
การด าเนินงานและความได้เปรียบทางการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ในเขตการค้าชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่
คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง, 9(1). 46-94.
ชลธิศ ดาราวงษ์. (2556). ปัจจัยความส าเร็จในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อตอบรับ AEC. Journal
of Business, Economics and Communications, 8(1), 39-50.
ชลิต ผลอินทร์หอม. (2563). ผลกระทบของการใช้เครื่องมือการบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์ต่อ
ความได้เปรียบทางการแข่งขันและผลการด าเนินงานของกิจการในนิคมอุตสาหกรรม
ในประเทศไทย. UMT-POLY Journal, 17(1), 317-335.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2561). สถานการณ์ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ:
ทีคิวพี.
เวทย์ นุชเจริญ. (2561). ปัญหาด้านการเงินของผู้สูงอายุไทย. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2562
จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/644351.
สยาม อรุณศรีมรกต และคณะ. (2556). รูปแบบและปัจจัยในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ด้วยศักยภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: กรณีศึกษา ต าบลคลองด่าน
อ าเภอบางบ่อ จังหวัด สมุทรปราการ. Romphruek Journal, 31(1), 157-172.
สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544). ปัจจัยที่สนับสนุนให้ “ชุมชนเข้มแข็ง”. สืบค้นเมื่อ
5 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://www.ryt9.com/s/nesd/238500.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552). รายงานการศึกษาเบื้องต้น
เศรษฐกิจสร้างสรรค์The Creative Economy. กรุงเทพฯ: ส านักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
องค์การบริหารส่วนต าบลดงมะไฟ. (2562). สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่ส าคัญขององค์การ
บริหารส่วนต าบลดงมะไฟ. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2562 จาก
http://www.tambondongmafai.go.th/index.php/welcome/detail/38/menu.
เอกศักดิ์ เฮงสุโข. (2557). ศักยภาพของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกก าลังกาย
ของสูงอายุ. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 10(3), 129-142.
Booz, Allen, & Hamilton. (1982). New Product Management for the 1980’s.
New York: Booz, Allen & Hamilton, Inc.
Ernst, H., Hoyer, W. D. & Rübsaamen, C. (2010). Sales, Marketing, and Research-And-Development Cooperation across New Product Development Stages:
Implications for Success. Journal of Marketing, 74(5), 80-92.
Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. (3rd ed.). New York:
McGrawHil.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30