วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท างานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา สายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ผู้แต่ง

  • ัมย์ประภา บุญทะระ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • สุวัฒนา ตุ้งสวัสดิ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมองค์กร, ประสิทธิภาพการทำงาน, การบริหารทรัพยากรมนุษย์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท างาน
ของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างใน
การวิจัย คือ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จ านวน
217 คน โดยใช้วิธีการค านวณกลุ่มตัวอย่างเป็นระดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วน โดยเลือกตัวอย่างจาก
แต่ละกลุ่มตามสัดส่วนประชากร ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ
เชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ
เชิงอนุมานเพื่อทดสอบสมมติฐาน โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์กรลักษณะเชิงสร้างสรรค์ ส่งผลกระทบเชิงบวก
ต่อประสิทธิภาพการท างานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา (p < .01) และวัฒนธรรมองค์กรลักษณะตั้งรับ-เฉื่อยชา ส่งผลกระทบเชิงบวก
ต่อประสิทธิภาพการท างานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา (p < .05)

Author Biographies

ัมย์ประภา บุญทะระ, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

สุวัฒนา ตุ้งสวัสดิ์, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

References

กองนโยบายและแผน (2558). แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พ.ศ. 2558-
2562. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
กองบริหารบุคคล. (2562). สัมภาษณ์. 31 พฤษภาคม 2562. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา.
ดิเรก อัสถิ. (2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม
เยื่อและกระดาษในเขตภาคกลาง. การศึกษาวิจัยบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช.
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไออินเตอร์
มีเดีย.
ปัณณษร เทียนทอง. (2555). วัฒนธรรมองค์การที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน
ธนาคารธนชาต. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พิมพ์ไพร ณ พิกุล. (2554). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน
และลูกจ้างธนาคารออมสิน ในเขตจังหวัดล าปาง. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง.
พินิจตา ค ากรฤาชา และคณะ. (2560). วัฒนธรรมองค์การที่มีผลต่อประสิทธิภาพการท างานของ
บุคลากรส านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจ าจังหวัด
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม.
วิเชียร วิทยอุดม. (2551). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์ จ ากัด.
ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564. กรุงเทพฯ: ส านักนายกรัฐมนตรี.
225 Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University
Vol.7 No.2 July - December 2020
227
ค าแนะน าส าหรับการเขียนบทความ
วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้เปิดรับบทความจาก
นักวิจัย คณาจารย์ นักศึกษา และนักวิชาการ ทั้งระดับท้องถิ่นและระดับสากล มีก าหนดการตีพิมพ์
ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม โดยมีขอบเขตของเนื้อหา
ของบทความที่พิจารณาตีพิมพ์เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านเศรษฐศาสตร์/บริหารธุรกิจและการจัดการ
นิเทศศาสตร์/สื่อสารมวลชน และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งนี้ทุกบทความ
จะต้องผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ ไม่น้อยกว่า 2 ท่าน แบบ Double
Blinded คือ มีการปกปิดชื่อเจ้าของบทความแก่ผู้ทรงคุณวุฒิ และเจ้าของบทความไม่ทราบชื่อ
ผู้ทรงคุณวุฒิโดยในกรณีที่ผู้นิพนธ์เป็นบุคคลภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง
2 ท่าน จะต้องเป็นบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยเท่านั้น และในกรณีที่ผู้นิพนธ์เป็นบุคคลภายนอก
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 2 ท่าน สามารถเป็นได้ทั้งบุคคลภายในและ/หรือ
ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี และเพื่อให้บทความที่ตีพิมพ์เป็นไปตามรูปแบบมาตรฐาน
ตามเกณฑ์การรับรองคุณภาพวารสาร ขอให้ผู้นิพนธ์จัดท าบทความตามรูปแบบต่อไปนี้
ประเภทของบทความที่ตีพิมพ์
1. บทความวิจัย (Research Article) เป็นผลงานที่ได้จากข้อมูลที่ผู้นิพนธ์ได้ศึกษาวิจัยด้วย
ตนเอง โดยมีการน าเสนอบทน า วัตถุประสงค์ ขอบเขตการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย วิธีด าเนินการ
วิจัย ผลการวิจัย และสรุปการวิจัย เพื่อน าเสนอองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย
2. บทความวิชาการ (Article) เป็นการเขียนเพื่อน าเสนอทางวิชาการในลักษณะการเขียน
แบบความเรียง มุ่งให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นการกล่าวแสดงความคิดเห็นของผู้นิพนธ์โดยมี
ข้อมูลแสดงให้เห็นเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนท าให้เกิดการสรุปผลในบทความวิชาการนั้น อาจเป็นการ
อ้างถึงกรอบความคิด ทฤษฎี ตลอดจนข้อเท็จจริงจากผลการศึกษาที่ผ่านมา โดยมีการค้นคว้าอ้างอิง
จากแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้และทันสมัย
การเตรียมต้นฉบับบทความ
1. บทความเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เนื้อความรวม 8-15 หน้า ขนาดกระดาษ A4
(21 x 29.7 เซนติเมตร) โดยพิมพ์ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดแบบคอลัมน์เดียว
2. การจัดพิมพ์บทความมีข้อก าหนดดังนี้
2.1 การตั้งค่าหน้ากระดาษ และรูปแบบตัวอักษรในการพิมพ์บทความ มีรายละเอียด
ดังตารางที่ 1
226
สุจิตรา อินนันชัย. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์กรกับประสิทธิภาพใน
การปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนโรงพยาบาลชลบุรี. วิทยานิพนธ์
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
Balthazard, P. A., Cooke, R. A. & Potter, R. E. (2006). Dysfunctional Culture,
Dysfunctional Organization. Master’s Thesis, Degree of Management and
Leadership, Arizona State University.
Cooke, R. A. & Lafferty, J. C. (1989). Organization Culture Inventory. Minnesota:
Human Synergistic.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.
Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Peterson, E. & Plowman, E. G. (1989). Business Organization and Management.
Illinois: Irwin.
Wallach, E. J. (1983). Individuals and Organization: the Cultural Match. Training and
Development Journal, 37(2), 28-36.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30