การจำแนกความคิดเห็นการใช้บริการร้านอาหารบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในจังหวัดอุบลราชธานีด้วยเทคนิคเหมืองข้อความคิดเห็น

ผู้แต่ง

  • ปราโมชย์ นามวงศ์ คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • ศุภเทพ สติมั่น คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

เหมืองข้อความ, การเรียนรู้ของเครื่อง, การเรียนรู้เชิงลึก, , ธุรกิจร้านอาหาร

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพการจำแนกความคิดเห็นบนเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟสบุ๊คของผู้ใช้บริการร้านอาหารในจังหวัดอุบลราชธานี โดยใช้เทคนิคเหมืองข้อความในการจำแนกความคิดเห็นออกเป็น เชิงบวก (Positive) และเชิงลบ (Negative) เพื่อการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการจำแนกข้อความ งานวิจัยนี้ได้เลือก 5 อัลกอริทึม ที่ได้รับความนิยมในการจำแนกประเภทข้อความ ได้แก่ Support Vector Machine (SVM)  Naïve-Bayes (NB)  Decision Tree (DT)  K-Nearest Neighbor (KNN) และ Long Short-term Memory (LSTM) ซึ่งจากผลการทดลองพบว่าอัลกอริทึมที่ให้ประสิทธิภาพในการจำแนกสูงที่สุดคือ DT ได้ค่าความถูกต้องเท่ากับ 89.00 เปอร์เซ็นต์ และเมื่อพิจารณาประสิทธิภาพในการจำแนกข้อความโดยรวมด้วยค่าประสิทธิภาพโดยรวม (F-measure) อัลกอริทึมที่ให้ประสิทธิภาพสูงที่สุดคือ SVM ได้ค่าประสิทธิภาพการจำแนกโดยรวมเท่ากับ 90.46 เปอร์เซ็นต์

Author Biographies

ปราโมชย์ นามวงศ์, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

ศุภเทพ สติมั่น, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

References

วาทิตย์ คำพรมมา จักรชัย โสอินทร์ และเพชร อิ่มทองคำ. (2562). แบบจำลองการวิเคราะห์ความรู้สึกแบบผสมสำหรับความคิดเห็นต่อโรงแรมในประเทศไทยโดยใช้ K-means และ K-NN. ใน เยาวเรศ

ศิริสถิตย์กุล, การประชุมวิชาการระดับชาติสารสนเทศศาสตร์วิชาการ 2019 (1-14). นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

Bell, J. (2015). Machine Learning: Hands-On for Developers and Technical Professionals.

(3rd ed.). New Jersey: John Wiley & Sons.

Chaturvedi, I. et al. (2018). Distinguishing between Facts and Opinions for Sentiment Analysis: Survey and Challenges. Information Fusion, 44, 65-77.

Haque, T. U. et al. (2018). Sentiment Analysis on Large Scale Amazon Product Reviews. In 2018 IEEE International Conference on Innovative Research and Development (ICIRD)

(1-6). Bangkok: IEEE.

Halibas, A. S. et al. (2018). Application of Text Classification and Clustering of Twitter Data for Business Analytics. In 2018 Majan International Conference (MIC) (1-7). Muscat: IEEE.

Hofmann, M. & Chisholm, A. (2016). Text Mining and Visualization Case Studies Using Open-Source Tools. Florida: CRC Press.

Limkonchotiwat, P. et al. (2021). Handling Cross and Out-of-Domain Samples in Thai Word Segmentation. Findings of the Association for Computational Linguistics: ACL-IJCNLP 2021 (1003-1016). Bangkok: Association for Computational Linguistics.

Ramanathan, V. & Meyyappan, T. (2019). Twitter Text Mining for Sentiment Analysis on People’s Feedback about Oman Tourism. In 2019 4th MEC International Conference on Big Data and Smart City (ICBDSC) (1-5). Muscat: IEEE.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29