ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้แอปพลิเคชัน 7-Delivery ของผู้ใช้บริการในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
ส่วนประสมทางการตลาดบริการ, การตัดสินใจ, แอปพลิเคชัน 7- Deliveryบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยประสมทางการตลาดบริการและ
การตัดสินใจใช้บริการแอปพลิเคชัน 7-Delivery ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง และศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการแอปพลิเคชัน 7-Delivery ของผู้ใช้บริการในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ใช้กลุ่มตัวอย่าง 385 คน โดยสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติอนุมานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคุณ
ผลวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการผู้ใช้บริการมีระดับความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.19 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่มีระดับความคิดเห็นมากที่สุดประกอบด้วยด้านราคาและด้านลักษณะทางกายภาพ มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.22 รองลงมาคือด้านผลิตภัณฑ์/บริการ
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 ด้านกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.19 ด้านพนักงานให้บริการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.17 และด้านการส่งเสริมการตลาด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 โดยมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนการตัดสินใจใช้บริการแอปพลิเคชัน 7-Delivery มีระดับความคิดเห็นในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.22 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการแอปพลิเคชัน 7-Delivery โดยเรียงตามลำดับอิทธิพลพบว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการด้านลักษณะทางกายภาพ (β = .419) ด้านกระบวนการ (β = .145),ด้านพนักงานให้บริการ (β = .113) ด้านการส่งเสริมการตลาด (β = .106), และด้านผลิตภัณฑ์/บริการ (β = .091) ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการแอปพลิเคชัน
7-Delivery อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 โดยมีด้านราคาและด้านช่องทางการจัดจำหน่ายไม่ส่งผลต่อ
การตัดสินใจของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชัน 7-Delivery ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
References
เกศินี บุญรอด และคณะ. (2562). ความคาดหวังและความพึงพอใจของลูกค้าในการใช้บริการสั่งอาหาร
แบบเดลิเวอรี่ผ่านช่องทางออนไลน์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
แก้วใจ ไพสันเทียะ. (2563). กระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่าน Application 7-ELEVEN Delivery
ของประชากรเขตบางกะปิ. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2565 จาก https://mmm.ru.ac.th/ MMM/IS/ismmm/ismmm.php?id=23.
กัญสพัฒน์ นับถือตรง. (2564). 12 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ ในจังหวัดสุรินทร์. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 7(2), 104-113.
งามตา นามแสง. (2563). ส่วนประสมทางการตลาดบริการและพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อความตั้งใจกลับมาซื้อซ้ำของลูกค้าที่ซื้อสินค้าในซุปเปอร์สโตร์ผ่านแอพพลิเคชั่น. วารสารการวิจัย
การบริหารการพัฒนา, 10(1), 1-10.
จามจุรี เรื่องศิลป์ชัย. (2563). พฤติกรรมการใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาแอปพลิเคชันไลน์แมน (Lineman) ฟู้ดแพนด้า (Foodpanda) แกร็บฟู้ด (Grabfood). วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 3(2), 32-48.
เจติยา สกุลปั่น และวิชากร เฮงษฎีกุล. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการ Food Delivery ของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรสาคร. Journal of Modern Learning Development, 7(2),317-332.
ชนม์ธีรา ขาละม้าย และพนัชกร สิมะขจรบุญ. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ประโยชน์การใช้งาน
แอปพลิเคชันสั่งอาหาร. วารสารนวัตกรรมธุรกิจ การจัดการ และสังคมศาสตร์, 3(1), 1-19.
ณัธภัชร เฉลิมแดน. (2563). พฤติกรรมผู้บริโภคในการสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่านโมบายแอปพลิเคชัน
ช่วงเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ในเขตกรุงเทพมหานคร.
วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, 2(1), 92-106.
ธนา สวัสดี. (2561). ส่วนประสมทางการตลาดกับการตัดสินใจซื้อรถยนต์มือสองของประชาชนในจังหวัดสมุทรปราการ. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.
นันท์นภัส สำราญรื่น และสายพิณ ปั้นทอง. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันเดลิเวอรี่จากร้านสะดวกซื้อในกรุงเทพมหานคร. วารสารสุทธิปริทัศน์, 12(2), 61-79.
ปฐณวิกรณ์ ฐิตาภัทรภิญโญ พุฒิธร จิรายุส และภัสสิรี วรเวชธนกุล. (2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าจากร้านโชว์ห่วยผ่านทางแอปพลิเคชัน Shopee.
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, 5(2), 111-132.
พรรษ์ธกานต์ ญาวีระ นปภา ภทรกมลพงษ์ และวราภรณ์ เต็มแก้ว. (2564). ศึกษาแนวทางการพัฒนาโมบาย
แอปพลิเคชันสำหรับท่าอากาศยาน. วารสารการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 4(1), 30-50.
ภัททิยา ลือมอญ. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการแอปพลิเคชัน Skyscanner ของกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทยในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มณทิรา น้อยจีน. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ Krungthai NEXT ของลูกค้าธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วรดา ต่อวัฒนกิตติกุล และศศิประภา พันธนาเสรี. (2563). กลยุุทธ์์การตลาดดิจิิทัลไลฟ์์สไตล์ของธนาคารที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้้แอปพลิเคชันเคพลัสของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ, 9(2), 81-95.
วีรภรณ์ จึงสวัสดิ์ และประสพชัย พสุนนท์. (2565). ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมและการรับรู้ของผู้บริโภคที่ส่งผลต่อเหตุผลในการตัดสินใจเลือกใช้บริการดิจิทัลแบงก์กิ้งของธนาคารกสิกรไทย ในเขตอำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม. สยามวิชาการ, 23(1), 20-39.
ศิริวัฒน์ อนันต์ ศิริวัฒน์ และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ
ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการคาร์แคร์แบบครบวงจรของผู้บริโภคในจังหวัดนนทบุรี.
ใน นิตย์ เพ็ชรรักษ์, การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายประชาชื่น ครั้งที่ 4 (40-47).
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
ศิวา บุญเทพ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าร้านสะดวกซื้อ 7-11 ของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2565 จาก https://mmm.ru.ac.th/ MMM/IS/ismmm/ismmm.php?id=23.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). หลังโควิด-19 ธุรกิจ Food Delivery ขยายตัวบนการแข่งขันที่ยิ่งรุนแรง
ผู้ให้บริการแพลตฟอร์มรุกไปสู่ Super Application. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2565 จาก https://www.kasikorn research.com.
สชา ทับละม่อม. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้การจัดส่งแบบเดลิเวอรี่ของร้านสะดวกซื้อ 7-Eleven ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุนทรี บุญประเวช. (2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้สนามบินข้ามภูมิภาค กรณีศึกษาสนามบินนานาชาติอู่ตะเภา จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
อริยชัย สังข์สุวรรณ และปาลิดา ศรีศรกำพล. (2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารรูปแบบ Fast Casual ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยพิชญทรรศน์, 15(1), 231-237.
อัญชลี เยาวราช (2562). ส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าในร้านค้าปลีก รูปแบบโมเดิร์นเทรดของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์,
(1), 139-143.
Cochran, W. G. (1997). Sampling Techniques. New Jersey: John Wiley & Sons.
Kotler, P. & Keller, K. (2006). Marketing Management. (12th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Seven-Eleven Chat and Shop. (2565). ADD LINE สาขา 7-Eleven CHAT & SHOP. สืบค้นเมื่อ
กันยายน 2565 จาก https://de2zkilidxgsz.cloudfront.net.
Walletzký, L. (2014). Service oriented marketing mix and its usage. In Proceeding of ICERI2014: 7th International Conference of Education, Research and Innovation (3855-3864). Seville, Spain: ATED.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร