ความท้าทายของการเป็นผู้ประกอบการกับความสำเร็จในการแข่งขันยุคใหม่ ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ผู้แต่ง

  • ดลฤดี พลมิตร
  • สมจิตร ล้วนจำเริญ

คำสำคัญ:

การเป็นผู้ประกอบการ, ความสำเร็จ, เศรษฐกิจสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

          ความสำเร็จของการนำแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างความได้เปรียบทาง การแข่งขัน ปัจจัยสำคัญหนึ่งคือ ผู้ประกอบการ ที่สามารถผนวกความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิจัยและพัฒนา เพื่อดำเนินธุรกิจได้ตามสภาพการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน บทความนี้มีเป้าหมายที่จะอธิบายเกี่ยวกับความท้าทายของการเป็นผู้ประกอบการกับความสำเร็จในการแข่งขันยุคใหม่ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยบทความจะเริ่มจากการอธิบายถึงความสำคัญของแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์กับความสำเร็จ เพื่อเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการแข่งขันยุคใหม่กับความสำเร็จของผู้ประกอบการในการแข่งขันยุคใหม่ ปิดท้ายด้วยข้อเสนอแนะในการทำวิจัยในอนาคตเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ประกอบการในยุคการแข่งขันใหม่ที่มีปัจจัยต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์

Author Biographies

ดลฤดี พลมิตร

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

สมจิตร ล้วนจำเริญ

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

References

กนกวรา พวงประยงค์. (2561). บทบาทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์และพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ในการพัฒนายกระดับวิสาหกิจชุมชนไทย. วารสารพัฒนศาสตร์, 1(1), 220-251.

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2558). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของผู้ประกอบการ. โครงการเตรียมความพร้อมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือภาคอุตสาหกรรมการผลิต เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2565 จาก http://www.dip.go.th/portals/0/AEC/.

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -2579). สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-doc-archives/thailand-40/11661-ministry-of-industry.

กษิดิศ ใจผาวัง ฉัตรฤดี จองสุรียภาส และภูมิพัฒณ์ มิ่งมาลัยรักษ์. (2562). อิทธิพลเชิงโครงสร้างของการใช้ทรัพยากรทางธุรกิจตามแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์และกลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของวิสาหกิจชุมชน ในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 6(11), 173-199.

ขวัญกมล ตอนขวา. (2561). แบบจำลองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์มีผลต่อยุทธศาสตร์ระยะยาวการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 38(1), 207-232.

ชมัยพร วิเศษมงคล. (2553). ประกอบการในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2565 จาก http://www.manager.co.th/ SMEs/ViewNews.aspx?NewsID=9530000131454.

เชาวนี แย้มผิว และจันทนา แสนสุข. (2564). กลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 7(1), 39-48.

ทิบดี ทัฬหกรณ์ และธีระวัฒน์ จันทึก. (2561). ปัจจัยสู่ความสำเร็จของผู้ประกอบการเชิงสร้างสรรค์ใน

ยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์. Veridian E-journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย

สาขามนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(1), 396-410.

ทิพย์วรรณ สุขใจรุ่งวัฒนา. (2561). กระบวนทัศน์กระแสทางเลือก: ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในสังคมไทย. Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11(1), 411-427.

ธีรเดช พัวประดิษฐ์ และนุจรี สุพัฒน์. (2564). อิทธิพลของการเตรียมพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการและการรับรู้ความสามารถตนเองที่มีต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการทางธุรกิจ. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 10(1), 214-229.

ธัญญารัตน์ พรหมสุทธิ์ และคณะ. (2564). การพัฒนาสมรรถนะทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับยุคประเทศไทย 4.0. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 10(1), 228-243.

นครินทร์ ศรีเลิศ. (2565). เปิดวิสัยทัศน์ ‘ผ.อ.CEA’ คนใหม่ ภารกิจดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์ไทยสู่เวทีโลก. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.bangkokbiznews.com/business/ economic/1023670.

นิธิพล ทองวาสนาส่ง. (2561). กลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่มีผลต่อความสำเร็จขององค์กรธุรกิจ:

กรณีผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 38(2), 35-49.

บัณฑิต นิจถาวร. (2565). ความท้าทายของการบริหารเศรษฐกิจปีนี้, เศรษฐศาสตร์บัณฑิต. สืบค้นเมื่อ

พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.bangkokbiznews.com/columnist/984173.

ปุณญาพร เอมมะโน. (2560). สรุปการดำเนินการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้วยเศรษฐกิจ (กระแสใหม่) ของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

ปรีดาพร คณทา และดารารัตน์ อินทร์คุ้ม. (2559). ทุนมนุษย์กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แนวคิดใหม่.

วารสารนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 1(1), 62-70.

พรรณนุช ชัยปินชนะ. (2560). กลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของกลุ่มผลิตภัณฑ์เซรามิกจังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 5(3),

-534.

พวงทอง วรรณีเวชศิลป์ และคณะ. (2561). การพัฒนารูปแบบการบริหารธุรกิจกลุ่มอาชีพกระเป๋าสานเส้นพลาสติกตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารวิจัย

ราชภัฏกรุงเก่า, 5(2), 9-15.

พิริยะ ผลพิรุฬห์. (2556). เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับการพัฒนาประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ปริทรรศน์ สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์, 7(1), 1-69.

ภาวดี เหมทานนท์ และอมาวลี อัมพันศิริรัตน์. (2563). ผลของรูปแบบการเรียนรู้ด้วยวิธีการสะท้อนคิดต่อ

การตระหนักรู้ในตนเองในนักศึกษาพยาบาล. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(7), 275-288.

มรกต กำแพงเพชร. (2553). ผู้ประกอบการไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์. วารสารมหาวิทยาลัยฟาร์อิสเทร์น, 3(2), 52-56.

สยามรัฐออนไลน์. (2561). สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการไทย ชูนวัตกรรมล้ำเพิ่มมูลค่า-แข่งขัน. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2565 จากhttps://siamrath.co.th/n/36656.

สุชาติ จรประดิษฐ์ อดิลล่า พงยี่หล้า และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2557). อิทธิพลของการใช้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีต่อความสำเร็จทางการตลาดของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระดับ 5 ดาวในประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(88), 170-195.

สุรเดช จองวรรณศิริ. (2562). TRIS ACAKEMY CLUB MAGAZINE. กรุงเทพฯ: สถาบันวิทยากรจัดการ

บริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำกัด.

เสกข์ วงศ์พิพันธ์. (2564). การเสริมสร้างการตระหนักรู้ทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโดยการให้คำปรึกษากลุ่ม. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 9(2), 107-118.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). ผลักดันไทยจากเน้น 'ผลิต' สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์.

สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2565 จาก http://www.nstda.or.th/news/17299-science-park.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2560). การปฏิรูปเศรษฐกิจกระแสใหม่. สืบค้นเมื่อ

พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.nstda.or.th/home/knowledge_post/neweconomy.

ศูนย์บริการร่วม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2560). การปฏิรูปเศรษฐกิจใหม่. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565 จาก https://mcs.mhesi.go.th/eServiceslinks/index.php? option=com_content&view=article&id=769:2017-02-03-06-58-33&catid=30&Itemid=175.

Bangkokbiznews. (2564). ความท้าทายในศักราชใหม่. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/980191.

Bringe, P. (2021). Top Business Challenges Caused by COVID-19. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.ricoh-usa.com/en/insights/articles/top-business-challenges-covid-19?fbclid=iwar0udnoywcfernhvppz6fattypcwtu4g9wublaauipubhl38oaze1nwcf8w.

Chen, M. & Tseng, M. (2021). Creative Entrepreneurs’ Artistic Creativity and Entrepreneurial Alertness: the Guanxi Network Perspective. International Journal of Entrepreneurial Behavior & Research, 27(4), 1082-1102.

Deakins, D., Bensemann, J. & Battisti, M. (2016). Entrepreneurial Skill and Regulation. International Journal of Entrepreneurial Behavior & Research, 22(2), 234–259.

De Luca, M., et al. (2018). The Effect of Creative Corporate Culture and Intangibility on the Performance of Foreign Firms Traded on the NYSE. Innovation & Management Review, 15(4), 356-372.

El-Adaileh, N. & Foster, S. (2019). Successful Business Intelligence Implementation: A Systematic Literature Review. Journal of Work-Applied Management, 11(2), 121-132.

Gaiardelli, P. & Songini, L. (2021). Successful Business Models for Service Centres: An Empirical Analysis. International Journal of Productivity and Performance Management, 70(5), 1187-1212.

Howkins, J. (2001). The Creative Economy: How People Make Money from Ideas. London: Penguin Publishing.

Hazak, A., Ruubel, R. & Virkebau, M. (2018). When Would Creative R&D Employees Like to Work? International Journal of Organizational Analysis, 27(3), 596-612.

Indeed Editorial Team. (2021). 6 Challenges Most Businesses Face. Retrieved November 28, 2022, from https://www.indeed.com/career-advice/career-development/challenges-businesses-face.

Littunen, H. (2000). Entrepreneurship and the Characteristics of the Entrepreneurial Personality. International Journal of Entrepreneurial Behavior & Research, 6(6), 295 – 310.

Mayfield, J. & Mayfield, M. (2008). The Creative Environment’s Influence on Intent to Turnover. Management Research News, 31(1), 41-52.

Mitropoulos, S. & Douligeris, C. (2021). Why and How Informatics and Applied Computing Can Still Create Structural Changes and Competitive Advantage. Retrieved November 28, 2022, from https://www.emerald.com/insight/content/doi/10.1108/ACI-06-2021-0149/full/pdf.

Protogerou, A., Kontolaimou, A. & Caloghirou, Y. (2022). Creative Industries and Resilience in Times of Crisis: The Role of Firm and Entrepreneurial Team Characteristics. International Journal of Entrepreneurial Behavior & Research, 28(4), 1075-1105.

Puni, A., Anlesinya, A. & Korsorku, P. (2018). Entrepreneurial Education, Self-Efficacy and Intentions in Sub-Saharan Africa. African Journal of Economic and Management Studies, Emerald Group Publishing, 9(4), 492-511.

Schiray, D., Carvalho, C. & Afonso, R. (2017). Creative Economy as A Social Technology Approach: A Case Study in Favela da Mangueira, Rio de Janeiro, Brazil. Academia Revista Latinoamericana de Administración, 30(4), 508-528.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30