ปัจจัยเชิงสาเหตุกลยุทธ์ทางการตลาดบริการ ประสบการณ์ และการตัดสินใจ ใช้บริการบริษัทขนส่งสินค้าชั้นนำในประเทศไทย
คำสำคัญ:
กลยุทธ์ทางการตลาดบริการ, ประสบการณ์, การตัดสินใจใช้บริการบทคัดย่อ
ปัจจัยเชิงสาเหตุของกลยุทธ์ทางการตลาดบริการ ประสบการณ์ และการตัดสินใจใช้บริการบริษัทขนส่งสินค้าชั้นนำในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นกลยุทธ์ทางการตลาดบริการ ประสบการณ์ และการตัดสินใจใช้บริการ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ทางการตลาดบริการที่มีต่อประสบการณ์ และการตัดสินใจใช้บริการ เป็นการสำรวจข้อมูลจากผู้บริโภคที่มีประสบการณ์การใช้บริการบริษัทขนส่งมากกว่า
1 ครั้งจำนวน 260 คน โดยทำการสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ผลการวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยด้านกลยุทธ์การตลาดบริการ พบว่า ผู้บริโภคที่ใช้บริการบริษัทขนส่งจะให้ความสำคัญต่อช่องทางการจัดจำหน่ายมากที่สุด และประสบการณ์ที่เป็นสิ่งสำคัญคือประสบการณ์ที่เกี่ยวกับความสบายใจและเชื่อมั่น และส่วนการตัดสินใจใช้บริการของผู้บริโภคตัดสินใจใช้บริการขนส่งบริษัทเพราะการให้บริการดีและมีมาตรฐาน และการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของกลยุทธ์ตลาดบริการพบว่า กลยุทธ์การตลาดบริการมีความสัมพันธ์ต่อประสบการณ์ผู้บริโภค (B = .70*) ทางบวก และประสบการณ์ผู้บริโภค
มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจใช้บริการ (B = .41*) ทางบวก และกลยุทธ์ตลาดบริการมีความสัมพันธ์ทางอ้อม (สัมพันธ์ทางบวก) ต่อการตัดสินใจใช้บริการ (B = .50*) ผ่านประสบการณ์ ซึ่งผู้ประกอบการควรใช้กลยุทธ์ตลาดบริการให้เหมาะสมเพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ผู้ใช้บริการบริษัทขนส่งโดยเน้นช่องทางที่ติดต่อได้สะดวกที่สุด
References
กนกกาญจน์ อุณหพงศา และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล. (2565). การตัดสินใจเลือกตัวแทนในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศของผู้ประกอบการ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 86-101.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2555). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชญานิษฐ์ โสรส. (2559). คุณภาพการให้บริการไปรษณีย์จังหวัดจันทบุรีที่มีความสัมพันธ์ต่อภาพลักษณ์ไปรษณีย์ไทย: ไปรษณีย์จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ดลนัสม์ โพธิ์ฉาย. (2562). ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคผลไม้พรีเมี่ยม กรณีศึกษาผู้บริโภคในอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ถิรวรรณ สกุลวงศ์สิริโชค และณัฐสพันธ์ เผ่าพันธุ์. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการตลาดเชิงประสบการณ์กับการสนับสนุนแบรนด์ของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในประเทศไทย. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 7(3), 126-141.
ณิชมน สาริพันธ์ และรุ่งนภา กิตติลาภ. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการขนส่งสินค้าของผู้ประกอบการค้าส่ง ในจังหวัดขอนแก่น. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 9(1), 17-25.
นลิศา เตชะศิริประภา. (2565). ธุรกิจขนส่งพัสดุ 5 หมื่นล้าน แต่ละแบรนด์แข่งอย่างไรในวันที่ค่าส่งถูกอย่างเดียวไม่พอ. สืบค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2565 จาก https://plus.thairath.co.th/topic/money/101155.
บุษกร งามทรัพย์พงศ์. (2563). การตัดสินใจเลือกใช้บริการขนส่งพัสดุบริษัท แฟลช เอ็กซ์เพรส จำกัดของประชากรในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปรีชา วิยาภรณ์. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการในการขนส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ของผู้ประกอบการขนส่ง. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2566 จาก https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?.
ปรียานุช ศิริไพบูลย์ทรัพย์. (2560). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการ Kerry Express ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรเจริญ แรงฤทธิ และชิณโสณ์ วิสิฐนิธิกิจา. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการให้บริการขนส่งสินค้าทางบกของบริษัทเวิลด์ฮาทชิปปิ้ง แอนทรานสปอร์ต จํากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
มนชยา ขยันกสิกร และวรินทร์ วงษ์มณี. (2559). การศึกษากลยุทธ์และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์การเลือกใช้ธุรกิจ ตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เพื่อเพิ่มยอดขายให้กับบริษัท กรณีศึกษา บริษัท XYZ จำกัด.
การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ครั้งที่ 16 (1-12).
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
รัตนะ พุธรักษา และพีรภาว์ ทวีสุข. (2560). คุณภาพการบริการด้านการนำจ่ายที่มีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจของลูกค้าบริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด กรณีศึกษาที่ทำการไปรษณีย์รามอินทรา. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 6(2), 124-134.
วริศรา เจริญศรี. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจใช้รถไฟฟ้าบีทีเอส. สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2565 จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU_2017_5904010310_
_722.pdf.
ศรินภัสร์ ล้อมวลีรักษ์ ภาศิริ เขตปิยรัตน์ และศิริกานดา แหยมคง. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และคุณภาพการให้บริการที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของลูกค้าบริษัทห้องเย็นอุตรดิตถ์จํากัด. วารสารวิชาการการจัดการภาครัฐและเอกชน, 4(3), 91-105.
ศิริรัตน์ ญาณปรีชา. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการขนส่งพัสดุของลูกค้าบริษัท แฟลช เอ็กซ์เพรส จำกัด ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สโรจ เลาหศิริ. (2559). วางแผนเพื่อเอาชนะคู่แข่งขันกับ 5 กลยุทธ์ความได้เปรียบทางการแข่งขันที่ต้องมี
ในการตลาดยุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2566 จาก https://positioningmag.com/
สุดาพร กุณฑลบุตร. (2557). หลักการตลาดสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Hair, J. F. et al. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th ed.). New York: Pearson.
Oliver, R. L. (1999). Whence Consumer Loyalty. Journal of Marketing, 63(4), 33-44.
Schumacker, R. E. & Lomax, R. G. (2010). A Beginners Guide to Structural Equation Modeling. New York: Routledge.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร