ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการรับรู้ความสามารถทางนวัตกรรมด้านการตลาดของธุรกิจ เพื่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทย
คำสำคัญ:
ปัจจัยเชิงสาเหตุ, การรับรู้ความสามารถทางนวัตกรรม, นวัตกรรมด้านการตลาด, ผู้สูงอายุ, ธุรกิจดูแลผู้สูงอายุบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการรับรู้ความสามารถทางนวัตกรรมด้านการตลาดของธุรกิจ เพื่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุของผู้สูงอายุในประเทศไทย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงประจักษ์โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงอายุระหว่าง 60-69 ปี จำนวน 460 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และการวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้าง ผลการวิเคราะห์โมเดลวัดค่าสัมประสิทธิ์ระหว่างตัวแปรแฝงมีความสัมพันธ์กัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างตามสมมติฐาน พบว่า โมเดลจำลองสมการเชิงโครงสร้างมีความเหมาะสมกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Chi-square = 157.445 df = 166 p = .670 RMSEA = .000
CFI = 1.000 CMIN/DF = .948) และมีความสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยที่ได้กำหนดไว้ ได้แก่ 1) การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ การมุ่งเน้นการเรียนรู้ การมุ่งเน้นตลาด และการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยีส่งผลทางตรงต่อการรับรู้ความสามารถทางนวัตกรรมด้านการตลาดของธุรกิจดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยสามารถอธิบายค่าสัมประสิทธิ์การทำนายของตัวแปรตาม R2 เท่ากับ .523 หรือคิดเป็นร้อยละ 52.30 2) การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ การมุ่งเน้นการเรียนรู้ การมุ่งเน้นตลาด และการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยีส่งผลทางตรงต่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทยโดยสามารถอธิบายค่าสัมประสิทธิ์การทำนายของ ตัวแปรตาม R2 เท่ากับ .309 หรือคิดเป็นร้อยละ 30.90 และ 3) การรับรู้ความสามารถทางนวัตกรรมด้านการตลาดส่งผลทางตรงต่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทยโดยสามารถอธิบาย
ค่าสัมประสิทธิ์การทำนายของตัวแปรตาม R2 เท่ากับ .378 หรือคิดเป็นร้อยละ 37.80
References
เกวรินทร์ ละเอียดดีนันท์ และนิตนา ฐานิตธนกร. (2559). การยอมรับเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคทางออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
เกวลี แก่นจันดา. (2565). การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการและการมุ่งเน้นการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความสามารถทางนวัตกรรมกับความได้เปรียบทางการแข่งขันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย . วารสารปัญญาภิวัฒน์, 14(1), 71-85.
จารุณี วงศ์ลิมปิยะรัตน์. (2558). การเงินและการบัญชีเพื่อการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
เฉลิมศักดิ์ บุญประเสริฐ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการใช้แอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ธนภัทร ขาววิเศษ โสรยา สุภาผล และวัลวดี ด้วงทรัพย์. (2564). รายงานวิจัยเรื่องปัจจัยนวตักรรมบริการและปัจจัยคุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าใช้บริการโรงแรมชัยนาทธานี. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
ธัญนันท์ บุญอยู่. (2561). อิทธิพลคั่นกลางของทุนโครงสร้างและการเป็นผู้ประกอบการในการถ่ายทอดทุนเชิงความสัมพันธ์สู่ผลิตภาพสำหรับอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์,
(1), 41-53.
ธาดาธิเบศร์ ภูทอง. (2562). ผลกระทบของการมุ่งเน้นตลาดการพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาด และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซ. Veridian E-Journal, Silpakorn University Humanities, Social Sciences and Arts, 12(6), 1343-1377.
พิชญา แก้วสระแสน และไพบูลย์ อาชารุ่งโรจน์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในการทำงานความเครียดและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(1), 1042-1057.
ภูมรินทร์ รุ่งรัศมีพัฒน์ และวิชิต อู่อ้น. (2565). ปัจจัยเชิงสาเหตุของความไว้วางใจเทคโนโลยีในเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อทัวร์ออนไลน์จากผู้ประกอบการธุรกิจทัวร์. วารสารศิลปะการจัดการ, 6(1), 358-373.
มาร์เก็ตเธียร์ออนไลน์. (2565). สถิติผู้สูงอายุไทยปี 65 จำนวนผู้สูงวัยเพิ่มต่อเนื่อง แต่อัตราการเกิดต่ำ.
สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2566 จาก https://marketeeronline.co/archives/272771.
ศตายุ ร่มเย็น. (2562). ความสามารถทางนวัตกรรมและความสามารถทางการตลาดที่ส่งผลต่อการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตพื้นที่จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2546). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.
สมาน ลอยฟ้า. (2554). ผู้สูงอายุกับเทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 29(2), 53-64.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). จำนวนประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ ภาคและจังหวัด พ.ศ. 2555–2564. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2565 จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/
page/sector/th/01.aspx.
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. (2553). สถานการณ์ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: ทีคิวพี.
สุดใจ ผ่องแผ้ว และนุจรี ภาคาสัตย์. (2559). รูปแบบความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการ OTOP ที่เป็น SMEs ในประเทศไทย. Veridian E-Journal Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(3), 1659-1675.
สุทิพย์ ประทุม และสรัญมณี อุเส็นยาง. (2565). การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศในยุควิถีชีวิตใหม่.
วารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี, 6(1), 1-18.
สุธาทิพย์ จันทร์เจริญผล. (2557). อิทธิพลการมุ่งความเป็นผู้ประกอบการ และมุ่งการตลาดที่เน้นการตอบรับจากลูกค้าและความได้เปรียบทางการแข่งขันของกิจการร้านยาในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุธาสินี ตุลานนท์. (2562). การยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อนุวัต สงสม. (2560). ความสามารถทางนวัตกรรม: การทบทวนวรรณกรรมและแบบจำลองเชิงแนวคิดเพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุและผลลัพธ์.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 37(4), 182-194.
อรุโณทัย พยัคฆงพงษ์. (2560). แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยีในการแข่งขันทางการตลาด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
อำนาจ วัดจินดา. (2560). นวัตกรรม: Innovation. สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.hrcenter.co.th/file/columns/hr_f_20170510_162245.pdf.
Annica, B. (2018). Leadership Person-centred Care and The Work Situation of Staff in Swedish Nursing Homes. Retrieved September 14, 2022, from http://umu.divaportal.org/smash/get/diva2:1196831/FULLTEXT01.pdf.
Beneke, J. et al. (2016). The Impact of Market Orientation and Learning Orientation on Organisational Performance. Journal of Research in Marketing and Entrepreneurship, 18(1), 90-108.
Baker, W. E. & Sinkula, J. M. (1999). The Synergistic Effect of Market Orientation and Learning Orientation on Organizational Performance. Academy of Marketing Science Journal, 27(6), 411-421.
Calantone, R., Cavusgil, T. S. & Zhao, Y. (2002). Learning Orientation, Firm Innovation Capability, and Firm Performance. Industrial Marketing Management, 31(6),
-524.
Dixon, W. B. (1992). An Exploratory Study of Self-directed Learning Readiness and Pedagogical Expectations about Learning among Adult Inmate Learners in Michigan. Michigan: Michigan State University.
D’Sousa, L. (2015). What Marketing & Innovation Really Mean ?. Retrieved December 20, 2022, from http://marketingbones.com/whay-marketing-innovation-really-mean/.
Earth, M. P. & Santos, M. A. (1990). Invertebrates Brusca. New York: W. H. Freeman & Company.
Essays, U. K. (2018). Marketing Strategies of Tesco. Retrieved September 14, 2022, from https://www.ukessays.com/assignments/marketing-strategies-tesco.php?vref = 1.
Ferraresi, A. A. et al. (2012). Knowledge Management and Strategic Orientation: Leveraging Innovativeness and Performance. Journal of Knowledge Management, 16(5), 688-701.
Gray, K. D. (2021). 5 Steps to Good Decision Making. Retrieved December 20, 2022, from https://www.corporatewellnessmagazine.com/article/5-steps-to-good decision-making.
Gu, J. C., Lee, S. C. & Suh, Y. H. (2009). Determinants of Behavioral Intention to Mobile Banking. Expert Systems with Applications, 36(9), 11605-11616.
Hair, J. F. et al. (2010). Multivariate Data Analysis: A Global Perspective. (7th ed.). New Jersey: Pearson Education International.
Hillman, C. H. (2014). An introduction to the Relation of Physical Activity to Cognitive and Brain Health, and Scholastic Achievement. Monographs of the Society for Research in Child Development, 79(4), 1-6.
Jones, G. R. (2007). Organizational Theory, Design, and Change. New Jersey: Prentice Hall.
Kai, L. (2019). Dance in Elderly Care: Professional Knowledge. Journal of Dance Education, 19(3), 1-9.
Kamboj, A. K. et al. (2017). Helicobacter Pylori: The Past, Present, and Future in Management.
Mayo Clinic Proceedings, 92(5), 599-604.
Kline, R. B. (2011). Principles and Practice of Structural Equation Modeling. New York: Guilford Press.
Ladipo, P. K. A. (2016). Market Orientation and Business Performance: A Study of Interrelationships and Effects in a Small sized Hotels within Lagos State Metropolis. Academic Journal of Economic Studies, 2(4), 98–119.
Laoyan, S. (2022). 7 Important Steps in the Decision Making Process. Retrieved December 20, 2022, from https://asana.com/resources/decision-making-process.
Lin, R. J., Chen, R. H. & Chiu, K. K. S. (2010). Customer Relationship Management and Innovation Capability: An Empirical Study. Industrial Management & Data Systems, 110(1),
-113.
Long, H. C. (2013). The Relationship Among Learning Orientation, Market Orientation, Entrepreneurship Orientation and Firm Performance of Vietnam Marketing Communications Firms. Philippine Management Review, 20(1), 37-46.
Miller, D. & Friesen, P. H. (1983). Strategy Making and Environment: The Third Link. Strategic Management Journal, 4(3), 221-235.
Mohammad, I. N., Massie, J. D. D. & Tumewu, F. J. (2019). The Effect of Entrepreneurial Orientation and Innovation Capability Towards Firm Performance in Small and Medium Enterprises (Case Study: Grilled Restaurants in Manado). Journal EMBA, 7(1), 1-10.
Muniu, E. (2019). Effects of Innovation Capabilities on Performance in The Kenyan Outdoor Advertising Industry: A Case of Magnate Ventures Limited. Retrieved December 20, 2022, from https://www.semanticscholar.org/paper/Effects-of-Innovation-Capabilities-on-Performance-A-Muniu/1e57332b9cf702ec5f24805fde7bd3504af28857.
Nancy, D. (2019). Older Adult Caregivers’ Lived Experiences with Debilitated Chronically Ill Relatives in a Rural Southern County. Dissertation, Degree of Doctor of Education,
Nova Southeastern University.
Narver, J. C. & Slater, S. F. (1990). The Effect of a Market Orientation on Business Profitability. Journal of Marketing, 54(4), 20-35.
Nybakk, E. (2012). Learning Orientation, Innovativeness and Financial Performance in Traditional Manufacturing Firms: A Higher-Order Structural Equation Model. International Journal of Innovation Management, 16(5), 28-35.
Nybakk, E., Crespell, P. & Hansen, H. N. (2009). Antecedents to Forest Owner Innovativeness:
An Investigation of The Non-Timber Forest Products and Services Sector. Forest Ecology and Management, 257(2), 608-618.
Ooi, K. B. & Tan, G. W-H. (2016). Mobile Technology Acceptance Model: An Investigation Using Mobile Users to Explore Smartphone Credit Card. Journal of Expert Systems With Applications, 59(5), 33-46.
Osman, C. et al. (2015). Integrity of The Yeast Mitochondrial Genome, But Not its Distribution and Inheritance, Relies on Mitochondrial Fission and Fusion. Proc Natl Acad Sci USA, 112(9), 947-956.
Peng, C. H. (2008). The Relationships Between the Antecedents of Innovativeness and Business Performance. International Symposium on Electronic Commerce and Security, 9(5),
-16.
Pratono, A. H. et al. (2019). Achieving Sustainable Competitive Advantage Through Green Entrepreneurial Orientation and Market Orientation. The Bottom Line, 11(5), 1-19.
Rhee, J., Park, T. & Lee, D. H. (2010). Drivers of Innovativeness and Performance for Innovative SMEs in South Korea: Mediation of learning orientation. Technovation, 30, 65-75.
Rogers, E. M. (2003). Diffusion of Innovation . (5th ed.). New York: Free Press.
Schilling, M. A. (2008). Strategic Management of Technological Innovation. (2nd ed.).
New York: McGraw-Hill Education.
Schumacker, R. E. & Lomax, R. G. (2004). A Beginner's Guide to Structural Equation Modeling. (2nd ed.). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates Publishers.
Selwyn, N. (2004). The Information Aged: A Qualitative Study of Older Adults’ Use of Information and Communication Technology. Journal of Aging Studies, 18(4), 369-384.
Selwyn, N. et al. (2003). Older Adults Use of Information and Communications Technology in Everyday Life. Aging & Society, 23(5), 561-582.
Sinkula, J. M., Baker, W. E. & Noordewier, T. A. (1997). A Framework for Market-Based Organizational Learning Linking Values, Knowledge, and Behavior. Journal of Academy of Marketing Science, 25(4), 305-318.
Tucker, R. B. (2003). Driving Growth Through Innovation. San Francisco: Berrett Koehler Publishers.
Vij, S. & Bedi, H. (2012). Relationship Between Entrepreneurial Orientation and Business Performance: A Review of Literature. The IUP Journal of Business Strategy, 15(3),
-31.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร