ผลกระทบของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของ SMEs ภาคอุตสาหกรรมการผลิตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, ผลการดำเนินงาน, ภาคอุตสาหกรรมการผลิต, ภาคเหนือตอนบนบทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และผลการดำเนินงาน 2) เพื่อทดสอบผลกระทบของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของ SMEs ภาคอุตสาหกรรมการผลิตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างจำนวน 385 ชุด จากผู้ประกอบการ SMEs ภาคอุตสาหกรรมการผลิตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการคำนึงถึงการเป็นปัจเจกบุคคล รองลงมาด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ และด้านการสร้างแรงบันดาลใจ 2) ผลการดำเนินงานโดยรวมและรายด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ลูกค้ากลับมาใช้บริการซ้ำ รองลงมา ลูกค้ามีความพึงพอใจเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น มีการเพิ่มขึ้นของกลุ่มลูกค้าใหม่
มีความสามารถในการทำกำไรเพิ่มขึ้น และสามารถลดต้นทุนในการดำเนินงาน และ 3) ผลการทดสอบผลกระทบของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของ SMEs ภาคอุตสาหกรรมการผลิตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย พบว่า ด้านการคำนึงถึงการเป็นปัจเจกบุคคล ด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ และด้านการสร้างแรงบันดาลใจ มีผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของ SMEs ภาคอุตสาหกรรมการผลิตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสหสัมพันธ์พหุคูณกำลังสอง (R2) คิดเป็นร้อยละ 62.70 โดยเขียนเป็นสมการพยากรณ์ได้ดังนี้
References
แก้วตา โรหิตรัตนะ. (2549). TQM กับความสําเร็จของวิสาหกิจขนาดย่อม ธุรกิจกับผลิตภาพ.
กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิทักษ์ ชูมงคล. (2564). การสื่อสารอัตลักษณ์ผู้ประกอบการในรายการอายุน้อยร้อยล้าน. วารสารนิเทศศาสตร์, 39(1), 1-20.
พีรวุฒิ ศิริศักดิ์. (2559). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความคิดสร้างสรรค์ในองค์การ นวัตกรรมองค์การที่มีต่อผลการดำเนินงานขององค์การ: ศึกษาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 27(3), 11-23.
ศิระ ศรีโยธิน. (2565). บทบาทของภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงในแนวคิดการสร้างแบรนด์ภายในองค์กร.
วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9(1), 159-172.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2559). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม ปี 2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.
สำนักส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2564). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม ปี 2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.
อริสรา ศรีเพ็งตา. (2565). ภาวะผู้นำกับการบริหารในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารการบริหารการศึกษา
มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 2(1), 32-42.
อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล และธีระวัฒน์ จันทึก. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง: เปลี่ยนความท้าทายมุ่งสู่
ความสำเร็จขององค์การอย่างยั่งยืน. Veridian E-Journal, Silpakorn University,
(1), 845-860.
Aharoni, Y. (1994). Small Firms in Global Competition. New York: Oxford University Press.
Bartz, A. E. (1999). Basic Statistical Concepts. (4th ed.). New Jersey: Preentice – Hall.
Bass, B. M. & Avolio, B. J. (1994). Improving Organization Effectiveness through Transformational Leadership. Thousand Oaks: Sage.
Field, A. (2013). Discovering Statistics Using IBM SPSS Statistics. (4th ed.). London: Sage.
Gujarati, D. N. & Porter, D. C. (2009). Basic Econometrics. (5th ed.). New York: McGraw Hill Inc.
Hair, J. F. et al. (2010). Multivariate data analysis. (7th ed.). New Jersey: Pearson Educational International.
İşcan, Ö. F., Ersarı, G. & Naktiyok, A. (2014). Effect of Leadership Style on Perceived Organizational Performance and Innovation: The Role of Transformational Leadership beyond the Impact of Transactional Leadership – An Application among Trukish SME’s. Social and Behavioral Sciences, 150, 881-889
Kanokmaneechotikul, T. (2020). Transformational Leadership Effecting on the Small to
Medium – Sized Enterprises Performance. Master’ s Thesis, Degree of Management,
Mahidol University.
Krejcie, R. V. & Morgan D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.
Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.
Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory. (3rd ed.). New York:
McGraw-Hill.
Ogola, M., Sikalieh, D. & Linge, T. (2017). The Influence of Intellectual Stimulation
Leadership Behavior on Employee Performance in SMEs in Kenya. International
Journal of Business and Social Science, 8(3), 89-100.
Paladan, N. (2015). Business University Student Entrepreneurial Competencies: Towards
Readiness for Globalization. Advances in Economics and Business, 3(9), 390-397.
Rovinelli, R. J. & Hambleton, R. K. (1977). On the Use Content Specialists in the Assessment of Criteria Reference Test Item Validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.
Shaista, J. (2022). What Is the Role of Transformational Leadership in SMEs? A Review Paper.
South Asian Review of Business and Administrative Studies, 4(1), 2710-5164.
Wade, M. V. (2006). Likert-type scale response anchors. South Carolina: Clemson University.
Widianto, S. & Harsanto, B. (2017). The Impact of Transformational Leadership and
Organizational Culture on Firm Performance in Indonesia SMEs. London: Palgrave Macmillan.
Yıldız, S., Basturk, F. & Boz, İ. T. (2014). The Effect of Leadership and Innovativeness on
Business Performance. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 150, 785 – 793.
Zhang, X. et al. 2020. Heroes or Villains? The Dark Side of Charismatic Leadership and Unethical Pro-organizational Behavior. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(15), 5546.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร