อิทธิพลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของนักบัญชี การแบ่งปันความรู้ของนักบัญชี และความชำนาญในวิชาชีพบัญชีของนักบัญชีที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชี
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี, การแบ่งปันความรู้, ความชำนาญในวิชาชีพบัญชี, ประสิทธิภาพการทำงาน, นักบัญชี, Professional Citizenship Behavior, Knowledge Sharing, Accounting Professional Expertise, Work Efficiency, Accountantsบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุอิทธิพลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของนักบัญชี การแบ่งปันความรู้ของนักบัญชี และความชำนาญในวิชาชีพบัญชีของนักบัญชีที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับสถิติอนุมานใช้วิเคราะห์สหสัมพันธ์และการวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้จัดการสำนักงานบัญชี จำนวน 198 คน
โมเดลอิทธิพลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของนักบัญชี การแบ่งปันความรู้ของนักบัญชี และความชำนาญในวิชาชีพบัญชีของนักบัญชีที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชี มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าสถิติ Chi-square = 50.132, df = 63, CMIN/df = .796, p - value = .880, GFI = .966, AGFI = .944, CFI = 1.000 RMSEA = .000 และ RMR = .007 มีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของตัวแปร = 1.005 สามารถทำนายได้ร้อยละ 98.70 อย่างมีนัยสำคัญที่ .01 ผลการศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชี และสร้างความเชื่อมั่นจากผู้รับบริการ
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2565). รายชื่อและจำนวนสำนักงานบัญชีในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ
มีนาคม 2565 จาก www.dbd.go.th.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: สามลดา.
กาญจนาพร พันธ์เทศ และประพันธ์ ชัยกิจอุราใจ. (2562). วัฒนธรรมองค์การและคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารภาครัฐแห่งหนึ่ง. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 30(1), 53-65.
กุสุมา ดําพิทักษ์ และนิตยา บุญทวี. (2563). ผลกระทบของระบบบัญชีดิจิทัลต่อนักบัญชีในองค์กรธุรกิจ.
RMUTT Global Business and Economics Review, 15(2), 59-71.
ขนิฐา นิลรัตนานนท์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีไทยเพื่อรองรับ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิชาชีพบัญชี, 12(33), 26-39.
จุไรรัตน์ ศรีสัตตรัตน์ และสมยศ อวเกียรติ. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุของนักบัญชีที่ส่งผลต่อความสำเร็จด้านบัญชีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เขตภาคกลาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 11(25), 137-152.
ฉัตรรัชดา วิโรจน์รัตน์. (2561). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการประยุกต์ใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยี
ปฏิบัติงานบัญชีสมัยใหม่ การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี ความเชี่ยวชาญทางการบัญชีอย่างมืออาชีพ ที่มีต่อประสิทธิภาพรายงานการเงินของนักบัญชีประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 11(1), 17-34.
ชุมพล รอดแจ่ม และรุ่งระวี มังสิงห์. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันสมรรถนะของนักบัญชีตามคุณลักษณะนักบัญชีที่พึงประสงค์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 5(1), 30-44.
ณัฐพงศ์ เล็กเลิศสุนทร พิทวัส เอื้อสังคมเศรษฐ์ และมยุรพร ศุทธรัตน์. (2562). อิทธิพลของทุนทางสังคมภายในและภายนอกที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจครอบครัวที่ประกอบกิจกรรมเพื่อสังคม. วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 13(18), 53-71.
บุญช่วง ศรีธรราษฎร์. (2561). ผลกระทบของความชำนาญในวิชาชีพบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีบริษัทกลุ่มร้อยแก่นสารสินธุ์. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 13(2), 103-124.
ปฏิมา ถนิมกาญจน์ เสาวลักษณ์ จิตต์น้อม และเพ็ญพร ปุกหุต. (2564). รูปแบบเชิงสาเหตุของคุณภาพชีวิตใน
การทำงาน พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี และประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานในภาคอุตสาหกรรมการบริการ. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 34(3), 72-86.
พรเทพ แก้วเชื้อ. (2560). พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 9(1), 210-217.
พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา และชุติมา นุตยะสกุล. (2561). การเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการความรู้และ
การจัดการคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาคอุตสาหกรรมเพื่อรองรับ EEC. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม,
(1), 27-38.
ภาวนา อังสานานนท์. (2559). ผลกระทบเเละอุปสรรคของกฎหมายไทยที่มีต่อการผลิตและการพัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพบัญชีในการเคลื่อนย้ายเเรงงานเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ราชิต ไชยรัตน์. (2563). บทบาทของนักบัญชีในอนาคตจากนักบัญชีสู่นักบัญชีนวัตกร. สืบค้นเมื่อ
มีนาคม 2565 จาก https://www.tfac.or.th/Article/Detail/126212.
ลัดดา หิรัญยวา. (2560). มาตรฐานนักบัญชีที่ตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจภายใต้กรอบมาตรฐาน
กลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(2), 63-73.
วันวิสา กลิ่นหอม และพรเทพ รัตนตรัยภพ. (2561). คุณลักษณะของนักบัญชีที่ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยาพึงพอใจ. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ
(631-643). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
สภาวิชาชีพบัญชี. (2562). คู่มือประมวลจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2565 จาก www.tfac.or.th.
สราวรรณ์ เรืองกัลปวงศ์ และคณะ. (2559). อิทธิพลของวัฒนธรรมขององค์การ รูปแบบการตัดสินใจ
ความไว้วางใจ และการถ่ายโอนความรู้ที่มีต่อการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการธนาคารพาณิชย์ไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 30(ฉบับพิเศษ), 292-305.
สัญธิชัย วงษ์โทน. (2563). ผลกระทบและการปรับตัวของนักบัญชีไทยต่อเทคโนโลยี “การรู้จำอักขระด้วยแสง (OCR)” และแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี การรู้จำอักขระด้วยแสงในอนาคต.
การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรเดช เล็กแจ้ง และประเวศ เพ็ญวุฒิกุล. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะทางวิชาชีพของผู้สอบบัญชี
รับอนุญาตและผู้สอบบัญชีภาษีอากร. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค,
(1), 51-68.
สุวรรณา พรมทอง และคณะ. (2564). การศึกษาความสำเร็จในการจัดทำบัญชีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตจังหวัดอุดรธานี. วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา, 5(2), 65-74.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566 – 2570. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2565 จาก http://www.nesdb.go.th/download/plan12/.
อมรา ติรศรีวัฒน์. (2560). สารสนเทศที่ควรรู้เพื่อการเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิชาชีพบัญชีไทยเพื่อรองรับตลาด AEC. วารสารวิชาชีพบัญชี, 13(39), 5-19.
ไอลดา ศรีมานนท์ อัครวิชช์ รอบคอบ และอิงอร นาชัยฤทธิ์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชี่ยวชาญ
การบัญชีสมัยใหม่กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีองค์การปกครองท้องถิ่นใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 13(2), 167–178.
Aaker, D. A., Kumar, V. & Day, G. S. (2005). Marketing Research. New York: John Wiley & Son.
Barney, J. (1991). Firm Resource and Sustained Competitive Advantage. Journal of
Management, 17(1), 99-120.
Blau, P. M. (1964). Exchange and Power in Social Life. New York: Wiley.
Hair, J. F. et al. (1995). Multivariate Data Analysis. (5th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Hair, J. F. et al. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th ed.). New York: Pearson.
Hooff, V. D. & Ridder, J. D. (2004). Knowledge Sharing in Context: The Influence of
Organizational Commitment, Communication Climate and CMC Use on Knowledge Sharing. Journal of Knowledge Management, 8(6), 117-130.
Kline, P. (2000). A Handbook of Psychological Testing. (2nd ed.). London: Routledge.
Kumar, N. & Rose, R. C. (2012). The Impact of Knowledge Sharing and Islamic Work Ethic on Innovation Capability. Cross Cultural Management, 19(2), 142-165.
Munro, B. H. (2005). Statistical Method for Healthcare Research. (5th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.
Nonaka, I. & Takeuchi, H. (1995). The Knowledge-creating Company. New York: Oxford University Press.
Nonaka, I. & Konno, N. (1998). The Concept of “Ba”: Building a Foundation for Knowledge Creation. California Management Review, 40(3), 40-54.
Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. (3rd ed.). New York:
McGraw-Hill.
Organ, D. W. (1988). Organizational Citizenship Behavior: The Good Soldier Syndrome.
Pennsylvania: Lexington Books.
Peterson, E. & Plowman, C. (1989). Business Organization and Management. (3rd ed.). Homewood: Irwin.
Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis. (2nd ed.). New York: Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร