การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงและกลยุทธ์ทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการเข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก อีอีซี

ผู้แต่ง

  • ศตวรรษ บุญผสม
  • สายพิณ ปั้นทอง

บทคัดย่อ

      การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงมีอิทธิพล
ต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา และ 2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีอิทธิพล
ในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรีของทุก
คณะวิชา ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 300 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
คือ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยกำหนดระดับนัยสำคัญที่ .05

ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 18-20 ปี มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีระดับการศึกษาก่อนการเข้ารับศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และมีรายได้ครอบครัว
10,001 – 20,000 บาทต่อเดือน ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ได้แก่ ด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้านการสร้างอาชีพ ด้านการสร้างสรรค์นวัตกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p<.01) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ได้แก่ ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน ด้านช่องทางการจัดการเรียนการสอน ด้านบุคลากรทางการศึกษา และด้านกระบวนการการจัดการเรียนการสอน มีอิทธิพลต่อการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก อีอีซี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p<.05) และมีระดับการตัดสินใจในเข้าศึกษาต่ออยู่ที่ร้อยละ 72.10

Author Biographies

ศตวรรษ บุญผสม

คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

สายพิณ ปั้นทอง

คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

References

จิตรา จันทราเกตุรวิ และพรพิมล ประสงค์พร. (2564). การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้เรียนโดยใช้การเรียนรู้ในรูปแบบ Work-based Education. วารสารปัญญาภิวัฒน์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์, 13(1), 308–317.

ณัฐธนนท์ อ่อนชื่น และสายพิณ ปั้นทอง. (2564). ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกสถานศึกษา เอกชนในระบบทวิภาคี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของผู้ปกครองในอำเภอพระประแดง

จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(3), 63-77.

พรวิทย์ พัชรินตนะกุล. (2562). มหาวิทยาลัยไม่ใช่แค่สอนหนังสือ แต่เรามีหน้าที่พัฒนาคน. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2566 จาก http://www.cp-enews.com/news/details/cptalk/3421.

พระมหาเทวินทร์ ชิณบุตร. (2564). สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในสถาบันอุดมศึกษา. พุทธศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

เลิศชัย สุธรรมานนท์ มัลลิกา บุญญาศรีรัตน์ และดารา วัธนเวทย์. (2562). การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ทางเลือกใหม่ของอุดมศึกษาไทย. นนทบุรี: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2560). การบริหารการตลาดยุคใหม่. (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ:

สำนักพิมพ์ธรรมสาร จำกัด.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2563). หลักการตลาด. (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมสาร จำกัด.

สมภพ มานะรังสรรค์. (2560). ก้าวอย่างมุ่งมั่นของ PIM สู่มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจชั้นนำของอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2565 จาก http://www.cp-enews.com/news/details/cptalk/1410.

สุธาสินี ยอดอุดม ธนโชติ บุญวรโชต และกฤษณา ตรีศีลวัฒนกุล. (2563). ปัจจัยในการพัฒนาศักยภาพทางด้านนวัตกรรมของประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 42(3), 19-38.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2564). อีอีซี โมเดลต้นแบบการศึกษายุค

ใหม่ทั่วประเทศ. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2565 จาก https://www.securitysystems.in.th

/2021/04/eec-model-master-of-thai-modern-education/?fbclid=IwAR0DiuYBp7s.

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564). จำนวนสถาบันอุดมศึกษา จำแนกตามประเภทสถาบันอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2564. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2565

จาก https://info.mhesi.go.th/.

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2565). จำนวนสถาบันอุดมศึกษา

จำแนกตามประเภทสถาบันอุดมศึกษา ในเขตพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

ปีการศึกษา 2564. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2565 จาก https://info.mhesi.go.th/.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม

จาก http://www.onec.go.th/th.php/page/category/CAT0000018.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2565 จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_

news.php?nid=6420&filename=develop_issue.

เหมือนจิต จิตสุนทรชัยกุล. (2561). พฤติกรรมผู้บริโภคกับธุรกิจค้าปลีก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บริษัท

ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).

อลงกรณ์ อัมมวงศ์จิตต์ ศรีรัฐ ภักดีรณชิต และนพดล อินทรจันทร์. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือก

เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีที่วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อิสามะแอ สะแม และสายพิณ ปั้นทอง. (2565). อิทธิพลที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

แห่งองค์กรธุรกิจของนักศึกษาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารสุทธิปริทัศน์, 36(3), 226-244.

Kotler, P. & Keller, K. (2016). Marketing Management. (15th ed.). New Jersey: Pearson Education.

Sankham, S. & Hamra, W. A. (2016). Factors Affecting Student Decisions to Study at Asia-

Pacific International University. Retrieved from March 12, 2023, from https://web.b.ebscohost.com/abstract?direct=true&profile=ehost&scope.

Yamane, T. (1970). Statistics: An Introductory Analysis. (2nd ed.). New York: Harper & Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30