การสร้างแบรนด์และส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการรับรู้คุณค่า ผลิตภัณฑ์ชุมชนของจังหวัดลำปาง

ผู้แต่ง

  • อัจฉรา เมฆสุวรรณ
  • ขจรศักดิ์ วงศ์วิราช
  • พอใจ สิงหเนตร
  • ปัทมา อภิชัย

คำสำคัญ:

การสร้างแบรนด์, ส่วนประสมทางการตลาด, การรับรู้คุณค่า, ผลิตภัณฑ์ชุมชน

บทคัดย่อ

       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบอิทธิพลของการสร้างแบรนด์และส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน จังหวัดลำปาง กลุ่มตัวอย่าง คือนักท่องเที่ยวที่ซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชนของจังหวัดลำปาง ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 จำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์
การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน

       ผลการศึกษา พบว่าอิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ส่วนประสมทางการตลาด (b = .352) และการสร้างแบรนด์ (b = .230) มีอิทธิพลต่อการรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน จังหวัดลำปาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทำให้เห็นว่านักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ได้รับรู้ผลิตภัณฑ์ชุมชนจากการกระตุ้นทางการตลาดของผู้ประกอบการทำให้ตัดสินใจเลือกซื้อได้ง่ายมากขึ้น อย่างไรก็ตามการสร้างแบรด์ก็เป็นสิ่งจำเป็นของการซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชนเช่นเดียวกัน

Author Biographies

อัจฉรา เมฆสุวรรณ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

ขจรศักดิ์ วงศ์วิราช

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

พอใจ สิงหเนตร

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

ปัทมา อภิชัย

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

References

เกศินี บัวดิศ และกัลยา พิมพ์เพราะ. (2564). การสร้างแบรนด์ให้ประสบความสําเร็จด้วยเครื่องมือนวัตกรรม

ทางการสื่อสารการตลาด. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,

(2), 308-320.

ธนพร มหัธธัญญวาณิชย์ เจษฎา วงศ์แสนสุขเจริญ และสมบูรณ์ สารพัด. (2561). ส่วนประสมการตลาด

บริการ และการรับรู้คุณค่าที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการร้านอาหารเพื่อสุขภาพ

จังหวัดชลบุรี. วารสารการบริหารและจัดการ, 8(1), 69-82.

ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2563). วิธีสร้าง Brand Experience ให้ประทับใจ. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน

จาก https://www.popticles.com/branding/create-impressive-brand-experience/.

ปิ่นปินัทธ์ จ่าดา. (2562). การทำแบรนด์ในยุคดิจิทัล. วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี, 5(1), 67-73.

มาโนชย์ นวลสระ น้ำเพชร เตปินสาย และชัชชญา ชุติณัฐ ภูวดล. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอจากเส้นใย

ธรรมชาติ จังหวัดเชียงราย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่,

(2), 42-58.

มารุต จิรชุติพร. (2565). การสร้างแบรนด์องค์กรผ่านการสร้างประสบการณ์: กรณีศึกษา คณะดนตรีและ

การแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(2), 197-222.

สยามรัฐ. (2560). สมุทรสาครโชว์แบรนด์สัญลักษณ์สินค้าคุณภาพจังหวัด. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2566

จาก https://siamrath.co.th/n/24590.

สุธานี เยาวพัฒน์. (2566). ผู้ประกอบการข้าวแต๋นจังหวัดลำปาง. สัมภาษณ์. 19 เมษายน 2566.

สุธาสินี วิยาภรณ์ ชวนชม ชินะตังกูร และกมลมาลย์ ไชยศิริธัญญา. (2560). องค์ประกอบการพัฒนาแบรนด์

ของมหาวิทยาลัยเอกชน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 6(1), 125-135.

สุรเดช สุเมธาภิวัฒน์. (2565). กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ในตลาดดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย

ฟาร์อีสเทอร์น, 16(2), 107-119.

Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. (3rd ed.). New York: John Wiley & Sons.

Field, A. (2013). Discovering Statistics Using IBM SPSS Statistics. (4th ed.). California:

SAGE Publications.

Gujarati, D. N. & Porter, D. C. (2009). Basic Econometrics. (5th ed.). New York: McGraw Hill.

Habicht, H. & Thallmaier, S. R. (2017). Understanding the Customer Value of Co-designing

Individualised products. International Journal of Technology Management,

(1-3), 114-131.

Hair, J. F. et al. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th Ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Kotler, P. (1998). A Generic Concept of Marketing. Marketing Management, 7(1), 48-54.

Kotler, P. (2003). Marketing Management. (11th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Rovinelli, R. J. & Hambleton, R. K. (1977). On the Use of Content Specialists in the

Assessment of Criterion-referenced Test Item Validity. Tijdschrift Voor Onderwijs

Research, 2(1), 49-60.

Sánchez-Fernández, R. & Iniesta-Bonillo, A. (2007) The Concept of Perceived Value:

A Systematic Review of the Research. Marketing Theory, 7(1), 427-451.

Schiffman, L. & Kanuk, L. (2010). Consumer Behavior. (10th ed.). Harlow: Pearson Education.

Sweeney, J. C. & Soutar, G. N. (2001). Consumer Perceived Value: The Development of

a Multiple Item Scale. Journal of Retailing, 77(2), 203–220.

Wade, V. M. (2006). Likert-type Scale Response Anchors. South Carolina: Clemson University.

Zeithaml, V. A. (1988). Consumer Perceptions of Price, Quality, and Value: A Means-End

Model and Synthesis of Evidence. Journal of Marketing, 52(3), 2-22.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30