องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล ของเจเนอเรชันวายในเขตจังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
ความตระหนักรู้การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล, เจเนอเรชันวาย, ผลิตภัณฑ์ทางการเงินบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลของเจเนอเรชันวาย ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างคือคนเจเนอเรชันวาย ในเขตจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 375 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลของ
เจเนอเรชันวายในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านทรัพยากรทางการเงิน ด้านความเสี่ยงจากความไม่แน่นอน ด้านระบบเศรษฐกิจ และด้านสังคมและวัฒนธรรม ร่วมกันพยากรณ์ความตระหนักรู้การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลของเจเนอเรชันวายในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ได้ร้อยละ 73 โดยองค์ประกอบด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านทรัพยากรทางการเงิน ด้านความเสี่ยงจากความไม่แน่นอน
ด้านระบบเศรษฐกิจ และด้านสังคมและวัฒนธรรม มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลของเจเนอเรชันวาย ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
References
กษิดิศ สังสีเพชร. (2564). การตัดสินใจลงทุนในสกุลเงินดิจิทัล ของนักลงทุนในเขตกรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
จิรายุทธ์ ธราธรรุ่งเรือง และพัฒน์ พัฒนรังสรรค์. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสนใจใช้งานสกุลเงินดิจิทัลลิบรา. วารสารวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์, 16(2), 107-122.
ดวงกมล สุวรรณล้วน. (2562). ความสนใจและความตระหนักรู้ในการวางแผนการออมเงินกับพฤติกรรม
การออมเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยทักษิณ. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2565). มารู้จักสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset). สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2565 จาก https://www.setinvestnow. Com/th/knowledge/article/99-tsi-getting-to-know digital-assets.
เทศบาลนครอุบลราชธานี. (2564). สถิติประชากรประจำเดือน มกราคม 2566. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2566 จาก http://www.cityub.go.th/2022.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2557). การวางแผนการเงิน. สืบค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2565 จาก https://www.1213. or.th/th/moneymgt/finplan/Pages/planningsteps.aspx.
นพรินทร์ อินทำ. (2564). กระบวนการที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลของ
นักลงทุนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
บรมกิจ ดอนละคร และนรชัย อรินต๊ะทราย. (2561). การเปิดรับเทคโนโลยี BlockChain ที่มีอิทธิพลต่อ
การตัดสินใจลงทุนใน Cryptocurrency ของนิสิตและบุคลากรในมหาวิทยาลัยนเรศวร.
วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ปรารถนาอารี มูฮัมหมัดอัลโคลเลซ. (2563). การยอมรับเทคโนโลยีพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์และการรับรู้ความเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจใช้สกุลเงินดิจิทัล. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปัทมา สันเส็น. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติกับการยอมรับในระบบธนาคารออนไลน์ของลูกค้าธนาคารออมสินในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ภัททิยา เพ็งประไพ และบุฏกา ปัณฑุรอัมพร. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงทุนในสกุลเงินดิจิทัล
บิตคอยน์ (Bitcoin) ของนักลงทุนรายย่อยในสถานการณ์ COVID–19. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รุ่งตะวัน แซ่พัว. (2560). การศึกษาพฤติกรรมการออมและการลงทุนของ Generation X ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศรัณย์ภัทร ปฏิพัฒนพงศ์. (2565). การศึกษาความตั้งใจในการใช้งานสินทรัพย์ดิจิทัลของประชากรวัยทำงาน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
สนุก. (2566). Gen B, Gen X, Gen Y และ Gen Z อยู่ในกลุ่มอายุเท่าไหร่ แต่ละเจนมีความแตกต่างอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2566 จาก https://www.sanook.com/campus/1401267.
อรวิสา งามสรรพ์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการซื้อสินค้าออนไลน์ (E-Shopping) ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุบลวรรณ ขุนทอง, นรีรัตน์ นันต์ชัยรัชตะ และบุญธรรม ราชรักษ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีทางการเงิน กรณีศึกษาระบบการชำระเงินผ่านสมาร์ทโฟน ด้วยเทคโนโลยี Near Field Communication (NFC) ในการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารรัชต์ภาคย์, 14(32), 23-36.
โอภาส ฐาปนาพงษ์. (2564). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของนักลงทุนในการลงทุนธุรกรรมสินเชื่อระหว่างบุคคล กับบุคคลผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล
Azhar et al. (2017). Investment Awareness Among Young Generation. Advances in Economics, Business and Management Research, 36(11), 126-135.
Best, J. W. (1981). Research in Education. New Jersey: Prentice-Hall.
Hair, et al. (2010). A Primer on Partial Least Squares Structural Equation Modeling
(PLS-SEM). (2nd ed.). Thousand Oaks, California: Sage Publications.
Saleem, S. (2021). Determinants of Investment Behavior in Mutual Funds: Evidence from Pakistan. Pakistan: Business School Government College University.
Vasagadekar, P. (2014). A Research Paper on Investment Awareness Among Indian Working Women with Reference to Pune Region. International Journal of Scientific & Engineering Research, 5(6), 1333-1350.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rded.). New York: Harper & Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร