แนวทางการบริหารจัดการที่ทำให้ธุรกิจอยู่รอดในภาวะวิกฤตของสายการบินต้นทุนต่ำ
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการ, ภาวะวิกฤต, สายการบินต้นทุนต่ำบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการที่ทำให้ธุรกิจอยู่รอดในภาวะวิกฤตของสายการบินต้นทุนต่ำ ผลการศึกษาถือเป็นองค์ความรู้ใหม่สำหรับแนวทางการบริหารจัดการที่ทำให้ธุรกิจอยู่รอดในภาวะวิกฤตของสายการบินต้นทุนต่ำ ที่รู้จักในนาม AIC MODEL ประกอบด้วยแนวทางสำคัญ 3 ประการ คือ 1) ปรับตัว หมายถึง ผู้ประกอบการต้องมีความรู้ความเข้าใจทั้งในเรื่องการบริการจัดการธุรกิจให้ประสบความสำเร็จและอยู่รอด และต้องเข้าใจวิกฤตการณ์จริงที่เกิดขึ้นเพื่อประมวลเป็นองค์ความรู้ในการปรับแนวทางหรือทิศทางดำเนินธุรกิจให้อยู่รอด 2) ปรับปรุง หมายถึง นำเอาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์มาปรับใช้เพื่อปรับปรุงองค์การให้เหมาะสมกับบริบททางธุรกิจและสถานการณ์วิกฤตที่เกิดเพื่อให้องค์การสามารถดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จและอยู่รอดได้ในภาวะวิกฤต และ 3) เปลี่ยนแปลง หมายถึง การปรับเปลี่ยนองค์การอาจเป็นการปรับเปลี่ยนทั้งหมดที่เรียกว่า “พลิกโฉม” หรือปรับเปลี่ยนบางแผนกที่เป็นจุดอ่อนเพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในตลาด
References
กัญญา หมื่นโฮ้ง. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้สายการบินต้นทุนต่ำของผู้บริโภค
ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ฉัตรปวีณ์ จรัสวราวัฒน์. (2556). การบริหารงานในองค์กรในช่วงเหตุการณ์ที่วิกฤต. วารสารบัณฑิตศึกษา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2(1), 1-14.
ณัฐพงษ์ ประกอบการดี. (2565). กลยุทธ์การให้บริการของสายการบินต้นทุนต่ำเพื่อให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขันในอุตสาหกรรมการบิน. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 5(9), 56-66.
ทักษิณา แสนเย็น และคณะ. (2563). บทวิเคราะห์การรับมือโรคโควิด-19: ผลกระทบต่ออุตสาหกรรม
การบิน. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2), 209-220.
บางกอกแอร์เวย์. (2566). ปัจจัยความเสี่ยงด้านการบิน. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2566 จาก https://ba-th.
listedcompany.com/misc/cg/20180523-ba-cg-riskfactors-th.pdf.
ปิยะชาติ ภิรมย์สวัสดิ์ และคณะ. (2563). นกปีกหัก: วิกฤต “อุตสาหกรรมการบินโลก” ในยุคโควิด-19.
สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2566 จาก https://forbesthailand.com/commentaries/insights.
ภาวิณี ทองแย้ม. (2560). ความสำคัญของคุณภาพการบริการต่อความสำเร็จของธุรกิจ. วารสารเกษมบัณฑิต, 18(1), 219-232.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนา
อินเตอร์พริ้น.
รุ่งพิสิฐ วรคำนึง. (2563). สายการบินทั่วโลกปรับตัวฝ่าวิกฤต COVID-19 ด้วยกลยุทธ์ขนส่งสินค้าผ่าน
อากาศยานโดยสาร. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2566 จาก https://www.airfreightlogistics.com/
th/airlines-across-the-globe-carry-cargo-via-passenger-planes-as-they-navigate-through-thecovid-19-crisis.
วิทวัส อุดมกิตติ. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อบริการสายการบิน
ต้นทุนต่ำในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ศูนย์วิจัยธนาคารกรุงศรี. (2566). บทวิเคราะห์ Research industry-outlook. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2566 จาก https://www.https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/logistics/air-transport/io/air-transport-2023-2025.
สิทธิชัย ศรีเจริญประมง. (2559). การบริการที่ดีเลิศ: หนึ่งในปัจจัยสู่ความสำเร็จของธุรกิจการบิน.
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(1), 77-99.
อภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท์. (2552). กลยุทธ์การบริหารภาวะวิกฤต สำหรับผู้นำองค์กร. วารสารบริหารธุรกิจ, 32(122), 220-225.
อาริยา สุขโต. (2564). วิกฤตโควิด-19 กับการปรับตัวของธุรกิจการบิน. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2566 จาก www.parliament.go.th.
Barsky, J. D. & Labagh, R. (2012). An Investigation of Customer Satisfaction with Low–cost and Full–service Airline Companies. Journal of Business Research, 80, 188-196.
Kotler, P. (2003). Marketing Management. (11th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Mahon, J. F. & Cochran, P. L. (1991). Fire Alarms and Siren Songs: The Role of Issues Management in the Prevention of, and Response to, Organizational Crises. Industrial Crisis Quarterly, 5(2), 155-176.
Schneiderbauer, D. & Painsible, O. (2012). A Strategy for Customer Satisfaction. Cornell Hotel and Restaurant Administration Quarterly, 33, 32-40.
Seth, N. (2014). Airline Image and Service Quality Effects on Traveling Customers’ Behavior Intentions in Jordan. European Journal of Business and Management,
(22), 20-22.
Slaikeu, K. A. (1984). Crisis Intervention. Massachusetts: Allyn and Bacon.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร