การมีส่วนร่วมและการบริหารตามแบบจำลอง 7s ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ การดำเนินงานของสหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วม, การบริหารตามแบบจำลอง 7s, ประสิทธิภาพการดำเนินงานบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมและการบริหารตามแบบจำลอง 7s ที่ส่งผลต่อ
การดำเนินงานของสหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นบุคลากรของสหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 จังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 346 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการศึกษาพบว่าการมีส่วนร่วมและการบริหารตามแบบจำลอง 7s ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 จังหวัดอุบลราชธานี มีตัวแปรอิสระ 6 ตัวแปร ได้แก่ ด้านการดำเนินงาน ด้านระบบการจัดการ ด้านรูปแบบการบริหาร ด้านบุคลากร ด้านทักษะ และด้านค่านิยมร่วม แสดงว่าตัวแปรอิสระ 6 ตัวแปรนี้สามารถพยากรณ์ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 70.30
References
กระทรวงมหาดไทย. (2550). สรุปสาระสำคัญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550.
กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผน.
กัญญาณัฐ เทียนหลำ. (2560). แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์นักข่าวกรองแห่งชาติ จำกัด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ญาณเดช คุ้มประยูร. (2564). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนมีนบุรี อุปถัมภ์ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ทองใบ สุดชารี. (2551). การวิจัยธุรกิจ: ปฏิบัติการวิจัยนอกเหนือตำรา. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี.
ทวีชัย คำทวี พุฒิสรรค์ เครือคำ และพหล ศักดิ์คะทัศน์. (2562). การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการดำเนินงานสหกรณ์การเกษตรประตูป่า จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 36(1), 114-124.
ธัญญาลักษณ์ ใจเที่ยง. (2563). การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนเขตพระนครกรุงเทพมหานครต่อ
การพัฒนาเยาวชนไทย 4.0. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
ธิษิรินทร์ ปัญญายุทธศักดิ์. (2562). ปัจจัยตามหลักแนวคิด 7s ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานของเทศบาลเมืองสัตหีบ. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นลพรรณ บุญฤทธิ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
นัฐพล วัฒนสุข. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใน
การพัฒนาองค์การไปสู่การเป็นระบบราชการ 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2565). 7s Model McKinsey. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2567 จาก
https://drpiyanan.com/2021/05/27/7s-model-mckinsey/.
วรุต พันธุ์ไม้. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมขององค์การ
บริหารส่วนตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยบูรพา.
ศุภกฤษฏิ์ สามีบัติ. (2565). การบริหารงานบุคคล. สมุทรปราการ: ศาลแรงงานกลาง.
สำนักงานทะเบียนและกฎหมาย. (2555). กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและคำนำเกี่ยวกับสหกรณ์.
สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2567 จาก https://www.cad.go.th/download/law.pdf.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี. (2565). รายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2564 สหกรณ์ในพื้นที่
กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 จังหวัดอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี
Cohen, J. M., & Uphoff, N. T. (1981). Rural Development Participation: Concept and Measure for Project Design Implementation and Evaluation: Rural Development Committee Center for International Studies. New York: Cornell University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร