ประสิทธิภาพในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนและผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน ด้านบัญชีของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
ประสิทธิภาพ, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน, ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของเทคโนโลยีบล็อกเชน
ซึ่งประกอบด้วย คุณภาพของระบบ คุณภาพของข้อมูล คุณภาพของการบริการ การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง และแรงกดดันในการแข่งขัน และศึกษาประสิทธิภาพของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานด้านบัญชี ซึ่งประกอบด้วย การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลทางการบัญชีที่ครบถ้วน ถูกต้อง การประมวลผลทางบัญชีที่รวดเร็ว การนำเสนอข้อมูลทางการบัญชีที่มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้
การเชื่อมโยงข้อมูลทางการบัญชีที่มีความปลอดภัย โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประชากรที่ศึกษา คือ บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 686 บริษัท ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหารหรือผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีหรือหัวหน้าฝ่ายบัญชี ตอบกลับจำนวน 147 บริษัท วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการศึกษาพบว่า ด้านคุณภาพของข้อมูล ด้านการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง และด้านแรงกดดัน
ในการแข่งขัน ส่งผลต่อประสิทธิภาพของเทคโนโลยีบล็อกเชน และประสิทธิภาพของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในงานด้านบัญชี ด้านการประมวลผลทางบัญชีที่รวดเร็ว ด้านการนำเสนอข้อมูลทางการบัญชีที่มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ และด้านการเชื่อมโยงข้อมูลทางการบัญชีที่มีความปลอดภัย ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานด้านบัญชี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
กมลภู สันทะจักร์ และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2562). ปัจจัยของนักบัญชียุคดิจิทัลที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์
ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานราชการในประเทศไทย.วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 17(1), 17-31.
คงศักดิ์ วุฒิศิลป์. (2560). แนวทางการตัดสินใจใชเทคโนโลยีบล็อกเชน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.
เจษฎา สรณวิช. (2564). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในศาลยุติธรรมไทย. วิทยานิพนธ์
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม.
ชฎิล อินทระนก. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการนำเทคโนโลยีบล็อกเชนมาใช้ในการจัดการทะเบียนทรัพย์สินของหน่วยงานภาครัฐในประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
โชษิตา คลายศรี. (2563). นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศส่งผลต่อการพัฒนาบุคลากรทางบัญชี
ขององค์กรและประสิทธิภาพในงานบัญชีของผู้ทำบัญชีในเขตกรุงเทพและปริมณฑล.
การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2563). ผลกระทบของบล็อกเชนที่มีต่อความปลอดภัยข้อมูลบัญชี.
วารสารมหาจุฬานาครทรรรศน์, 7(5), 1-11.
ณัฐชา คำภา. (2562). เมื่อ Blockchain มีบทบาทสำคัญทางการเงินนักบัญชีควรทำอย่างไร.
สืบค้นเมื่อ13 มิถุนายน 2566 จาก https://dha.co.th/th/news/ข่าวสารด้านบัญชี/1129.
ดุษฎี จินต์วิริยะ. (2562). การยอมรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง.
สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566). รายชื่อบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2566 จาก https://www.set.or.th.
ธัญญารัตน์ ทาบทอง. (2564). การประยุกต์บล็อกเชนในการจัดการการขนส่งสินค้า. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ธัญวรัตน์ ธนัชญ์นันท์. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน บริษัทมหาชน
ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สารนิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์. (2565). แนวโน้มวิชาชีพบัญชีในปี 2020 เตรียมพร้อมและปรับตัว.
สืบค้นเมื่อ 21 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.dharmniti.co.th/acc-knowledge-acctrendin2020/
บัณฑิต พีระพันธ์. (2565). แนวคิดเทคโนโลยีบล็อกเชนและการประยุกต์ใช้กับงานจ่ายเงินกองทุนการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อสนับสนุนอุดหนุนหรือชดเชยการปฏิบัติการฉุกเฉินทางบก. วารสารการแพทย์ฉุกเฉิน
แห่งประเทศไทย, 2(2), 214-24.
ปฐมาภรณ์ บำรุงผล. (2563). การยอมรับเทคโนโลยีและคุณภาพระบบสารสนเทศที่ส่งผลต่อการตั้งใจ
ใช้บริการยื่นแบบภาษีเงินได้ นิติบุคคลผ่านอินเทอร์เน็ตของผู้ยื่นภาษีในธุรกิจภาคอุตสาหกรรม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ประสิทธิ์ วัฒนาภา. (2564). โครงการเวชระเบียนกลางด้วยเทคโนโลยีบล็อกเชน. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2566 จาก https://www.si.mahidol.ac.th/annualreport/2021/pdf/pdf-2564.hyperesources/
PDF/PDF2564.pdf.
ปาณมน จันทบุตร ศิริรัตน์ เจนศิริศักดิ์ และอรุณรัตน์ เศวตธรรม. (2564). เทคโนโลยีบล็อกเชน:
แนวคิดและผลกระทบสำหรับการบัญชี การตรวจสอบบัญชี และการจัดการห่วงโซ่อุปทาน.
วารสารวิชาชีพบัญชี, 17(56), 75-93
พิพัฒน์พงษ์ ปรีชาภรณ์. (2563). การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบปกป้องตรวจสอบและติดตาม
การทำรายได้ของทรัพย์สินทางปัญญาในอุตสาหกรรมดนตรีโดยเทคโนโลยีบล็อกเชน.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มนัสภรณ์ วังแวว และอัศนีย์ ณ น่าน. (2566). คุณลักษณะของนักบัญชียุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์
ในการปฏิบัติงานของนักบัญชีสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง.
วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์นมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(1), 183-196.
แม้นเขียน จันทร์พวง. (2560). การยอมรับเทคโนโลยีบล็อกเชนของบุคลากรในองค์กร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฤทัย วรรธนวินิจ. (2563). Smart Hospital รพ.สมุทรปราการ ต้นแบบการยกระดับโรงพยาบาลรัฐสู่ยุค 4.0. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2566 จาก https://www.hfocus.org/content/2020/02/18515.
ลักขณา วณิชชารักขกุล. (2560). การยอมรับเทคโนโลยีบล็อกเชนสำหรับระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์
ของโรงพยาบาล. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ลักษนันท์ พลอยวัฒนาวงศ์ และศิรปัฐช์ บุญครอง. (2561). บิตคอยน์และเทคโนโลยีบล็อกเชน. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 18 (1), 1-12.
วัทธยา พรพิพัฒน์กุล. (2563). นักบัญชีบริหารในยุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2566 จาก https://www.tfac.or.th/Article/Detail/126283.
ศรีสุดา อินทมาศ. (2563). เมื่อนักบัญชีเจอ Blockchain จะปรับเปลี่ยนอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2566 จาก https://www.tfac.or.th/Article/Detail/124251.
สราวุธ ป้อมคำ. (2560). เทคนิคการจัดเก็บข้อมูลนักศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). (2564). การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสำหรับภาครัฐฯ.
สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2566 จาก https://www.dga.or.th.
อธิการ แสนสุวรรณศรี. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของโครงการชลประทานสกลนคร. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
Aaker, D. A., Kumar, V. & Day, G. S. (2001). Marketing Research. New York: John Wiley and Sons.
Delone, W. H. & McLean, E. R. (2003). The DeLone and McLean Model of Information Systems Success: A Ten-Year Update. Journal of Management Information Systems, 19(4), 9-30.
Fuller, S. H. & Markelevich, A. (2020). Should Accountants Care About Blockchain?.
Journal of Corporate Accounting & Finance, 31(2), 34-46.
Iftikhar, W., Mago, D. & Mahmood, V. Z. (2021). Blockchain Technology Adoption by Malaysian Higher Education Institutes: A Perspective of Integrated Tam Model and Toe Framework. Proceedings of the 3rd International Conference on Integrated Intelligent Computing Communication & Security (ICIIC 2021), 606-617.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3), 607–610.
Somboon, P., Nilniyom, N. & Sangmahachai, N. (2021). The Effects of Electronic Local Administrative Accounting System Efficiency on Accounting Performance
Achievement of Local Administration Organizations in the Northeast of Thailand.
Journal of Accountancy and Management, 13(2), 140-152.
Supriadi, I., Prasetyo, H. D. & Suprihandari, M. D. (2020). The Effect of Applying Blockchain
to the Accounting and Auditing. Ilomata International Journal of Tax & Accounting,
(3), 161-169.
Tornatzky, L. G., Fleischer, M. & Chakrabarti, A. K. (1990). The Processes of Technological Innovation. Lexington: Lexington Books.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร