ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้แอปพลิเคชัน ChatGPT ของนักการตลาด

ผู้แต่ง

  • พวงทิพย์ ศิริสุข
  • นันทวัน อัครพรพรหม
  • สุภัชชา ชังโชติ
  • จิราภา รัตนวิจิตร
  • นิภา นิรุตติกุล

คำสำคัญ:

แอปพลิเคชัน ChatGPT, การรับรู้ประโยชน์, ทัศนคติ, ความไว้วางใจ, ความตั้งใจใช้เทคโนโลยี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้แอปพลิเคชัน ChatGPT ประกอบด้วยปัจจัยด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ด้านการรับรู้ประโยชน์ ด้านทัศนคติ และด้านความไว้วางใจที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้แอปพลิเคชัน ChatGPT โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ และกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มนักการตลาดในประเทศไทย จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์เชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สถิติถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน (Stepwise Multiple Regresstion Analysis) และการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression)

ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีมีเพียงปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ในการใช้งาน ปัจจัยด้านทัศนคติ รวมถึงปัจจัยด้านความไว้วางใจ ส่งผลต่อความตั้งใจใช้แอปพลิเคชัน ChatGPT ของนักการตลาด

Author Biographies

พวงทิพย์ ศิริสุข

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

นันทวัน อัครพรพรหม

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

สุภัชชา ชังโชติ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

จิราภา รัตนวิจิตร

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

นิภา นิรุตติกุล

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

References

จริยา มุสิกไชย. (2563). การยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการเลือกใช้แอปพลิเคชันซื้อขาย วารสารการจัดการภาครัฐและเอกชน, 2(3), 143-151.

ฐานเศรษฐกิจ. (2566). ChatGPT ขย่มทุกแพลตฟอร์มดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2566 จากhttps://www.thansettakij.com/technology/technology/554713.

เดอะโกรธมาสเตอร์ (The growth master). (2566). ChatGPT คืออะไร? พร้อมแนะนำวิธีการนำ ChatGPT มาใช้ในการทำ Marketing. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566 จากhttps://thegrowthmaster.com

/blog/ chatgpt.

ไทยรัฐ. (2566). ChatGPT คืออะไร รู้จักวิธีใช้งานและค่าบริการของ AI แชตบอทอัจฉริยะ. สืบค้นเมื่อ

ธันวาคม 2566 จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/tech/2640561.

นิภา นิรุตติกุล. (2558). การพยากรณ์การขาย. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นันท์นภัส สายทองแท้. (2562). ความตั้งใจใช้งานแอปพลิเคชันทางการเงินที่ยืนยันตัวตนโดยกระบวนการรู้จักลูกค้าผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นันท์สินี คงแจ้ง. (2566). ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกใช้แอปพลิเคชันสมัครงาน. วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, 5(1), 15-29.

บิซซิเนสแอนด์เทคโนโลยี (Business & Technology). (2021). รวม 8 รูปแบบของเทคโนโลยี AI ที่นิยมนำมาใช้กับการพัฒนา Mobile Application. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566 จากhttps://aigencorp.com/8-ai-technology-for-mobile-application.

เบญจมาศ มุ่งอุ่นกลาง และวรินรำไพ รุ่งเรืองจิตต์. (2566). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการยอมรับการใช้งานเเอปพลิเคชัน TIKTOK. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ. 14(1), 19-39.

ปณยา สุตตา. (2566). การใช้ ChatGPT เพิ่มประสิทธิภาพการทำ Marketing เจาะลึกคนแต่ละ Generations. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566 จาก https://www.everydaymarketing.co/

business-and-marketing-case-study/ai/chatgpt-marketing-each-gen.

แพระไดส. (2566). ChatGPT คืออะไร ใช้งานอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2566 จาก https://plaradise.com/what-is-chatgpt.

รสิตา อภินันทเวช และคณะ. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้เทคโนโลยี V-Commerce ในการซื้อสินค้าของผู้บริโภค Generation Z จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์,

(2), 1-13.

วนิดา ประวันจะ และนิภา นิรุตติกุล. (2564). การรับรู้ประโยชน์การรับรู้ความง่ายและความตั้งใจใช้บริการ

โมบายแบงก์แอปพลิเคชันของกลุ่มกิจการเจ้าของคนเดียว. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 16(1), 16-28.

วสุธิดา นุริตมนต์. (2562). อิทธิพลขอการยอมรับเทคโนโลยีที่มีต่อพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทาง การเงินผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์เคลื่อนที่. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(S), 189-199.

สมาร์ทฟินน์. (2563). แอปพลิเคชันครองใจคนไทยปี 2020. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566. จาก https://shorturl.asia/zHl36.

อัจฉราพร พงศ์วัฒนะเควิน และคณะ. (2566). ปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐาน

ความกังวลด้านสิ่งแวดล้อม และนโยบายภาครัฐที่ส่งผลต่อการเลือกใช้รถยนต์พลังงานไฮโดรเจน. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 16(2), 9-10.

อะมิตี้ โซลูชัน. (2566). 42 ข้อเท็จจริงของ ChatGPT. สืบค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2566 จาก https://www.amitysolutions.com/th/blogs/what-is-chat-gpt.

เอฟเวรีเด มาร์คิททิง (2567). 7 ไฮไลท์ Martech Report 2024. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://www.everydaymarketing.co/trend-insight/7-key-hightlights-martech-report-2024-by-content-shifu-x-hummingbirds-consulting.

แอ็ดด้า. (2564). ETDA เผยโควิด-19 เป็นเหตุสังเกตได้ Gen Z ใช้เน็ตสูงสุด ปีแรกชนะ Gen Y

แชมป์ 6 สมัย. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://www.etda.or.th/th/prnews/ETDA-released-IUB-2021.aspx.

Ajzen, I. & Fishbein, M. (1980). Understanding Attitudes and Predicting Social Behavior. Englewood cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.

Cortina, J. M. (1993). What is Coefficient Alpha? An Examination of Theory and Applications. Journal of Applied Psychology, 78(1), 98.

Davis, F. D. (1989). Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology. MIS Quarterly,13(3). 319-340.

Fitzsimons, G. J. & Morwitz, V. G. (1996). The Effect of Measuring Intent on Brand-Level

Purchase Behavior. Journal of Consumer Research, 23(1), 1-11.

Howard, J. A. (1994). Buyer Behavior in Marketing Strategy. Englewood Cliffs,

New Jersy: Prentice Hall.

Kalimullah, K. & Sushmitha, D. (2017). Influence of Design Elements in Mobile Applications

on User Experience of Elderly People. Procedia Computer Science, 113(1), 352-359.

Mou, J. & Cohen, J. (2014). Trust in Electronic-Service Providers: A Meta Analysis of Antecedents. Proceedings of Pacific Asia Conference on Information Systems (PACIS 2014).

Mowen, J. C. & Minor, M. (1998). Consumer Behavior. New Jersey: Prentice -Hall.

Mueller, C. E. & Hart, C. O. (2010). Effective Use of Secondary Data Analysis in Gifted

Education Research: Opportunities and Challenges. Gifted Children, 4(2), 3.

Neuendorf, Y. & Valdiseri, A. (2016). Consumer Acceptance of Online Banking: an

Extension of The Technology Acceptance Model. Internet Research, 14(3), 224-235.

Siau, K. & Wang, W. (2018). Building Trust in Artificial Intelligence, Machine Learning,

and Robotics. Cutter Business Technology Journal, 31(2), 47-53.

Thurstone, Louis L. (1974). The Measurement of Values. Chicago: The University of

Chicago Press.

Venkatesh, V., Morris, M. G., Davis, G. B., & Davis, F. D. (2003). User Acceptance of

Information Technology: Toward a Unified View. MIS Quarterly, 27(3), 425-478.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Statistics. New York: Harper & Row.

Zhou, T. (2012). Understanding Users’ Initial Trust in Mobile Banking: An Elaboration

Likelihood Perspective. Computers in Human Behavior, 28(4), 1518-1525.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31