สามทศวรรษ Siam mapped: จากการรื้อสร้างสู่การสถาปนาวาทกรรม ค.ศ.1994-2023

Main Article Content

ฐนพงศ์ ลือขจรชัย

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้มุ่งวิพากษ์และวิเคราะห์หนังสือ “กำเนิดสยามจากแผนที่ฯ” (“Siam mapped”) โดย ธงชัย วินิจจะกูล ในแง่มุมต่าง ๆ ได้แก่ ตำแหน่งแห่งที่ของ Siam mapped ในไทยคดีศึกษา ความเข้าใจต่อข้อเสนอของ Siam mapped และปัญหาในเชิงวิธีวิทยาของ Siam mapped


จากการศึกษาพบว่า Siam mapped เป็นหนึ่งในงานสายวิพากษ์ที่มาในช่วงความเสื่อมถอยของ
องค์ความรู้ที่ถูกสร้างขึ้นโดยนักวิชาการอเมริกัน Siam mapped ได้ตั้งคำถามต่อชุดความรู้เรื่องเสียดินแดนและข้ออ้างเรื่องรักษาเอกราชของกษัตริย์ที่ครอบงำไทยคดีศึกษาในช่วงเวลาดังกล่าว Siam mapped พยายามตั้งคำถามต่อ “ภูมิกายา” (Geo-body) หรือรูปร่างของสยามบนแผนที่ซึ่งได้กลายมาเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งของ “ความเป็นชาติไทย” (Thai nationhood) แม้ Siam mapped จะทำเพียงการวิพากษ์องค์ความรู้เดิม แต่กลับกลายเป็นฐานขององค์ความรู้ใหม่ที่เสนอว่าสยาม “ได้ดินแดน” ผ่านการอ้างอิงข้อเสนอ Siam mapped ในฐานะหลักฐานเป็นจำนวนมาก ปัญหานี้เกิดจากการที่ Siam mapped มิได้ระบุวิธีวิทยาอย่างชัดเจนอย่างการสืบสาแหรก (genealogy) ที่มุ่งเน้นวิพากษ์องค์ความรู้ในปัจจุบันหรือความจริง (truth) มากกว่าจะเป็นการวิจารณ์ต่อ “ข้อเท็จจริง” (fact) ในอดีต การอ้างอิง Siam mapped ที่ผิดพลาด
จึงกลายเป็นการที่ Siam mapped ได้สร้างวาทกรรม (discourse) ของ “วาทกรรมเสียดินแดน” (lost territory discourse) ขึ้นมาเอง

Article Details

บท
Articles

References

หลักฐานชั้นต้น

F.O.371/736 High Commissioner Sir J. Anderson to the Earl of Crowe. Confidential, May 27, 1909.

หนังสือ

Anderson, Malcolm, Territory and State Formation in the Modern World, (Oxford: Blackwell Publishers Ltd. ,1998), 14-18.

Garnier, Francis, Travels in Cambodia and Part of Laos, translate by Walter E.J. Tips, (Bangkok: White Lotus,1996), 80-81.

Ishikawa, Noboru, Between frontiers: nation and identity in a Southeast Asian borderland (Athens: Ohio University Press, 2010).

Ivarsson, Søren, Creating Laos: The Making of a Lao Space Between Indochina and Siam, 1860-1945, (Copenhagen: NIAS Press, 2008).

Miller, Richard b., “Christian Attitudes toward Boundaries: Metaphysical and Geographical,” in Christian Political Ethics, editor by John Aloysius Coleman, (Princeton: Princeton University Press, 2009), 70.

Sayamanonda, Rong, A History of Thailand, (Bangkok: Thai Watana Panich, 1988), 135.

Smith, Anthony D., “Ethnic Cores and Dominant Ethnies,” in Rethinking Ethnicity: Majority Groups and Dominant Minorities, Eric P. Kaufmann, (London: Routledge, 2004), 15-26.

Streckfuss, David, “Creating the “Thai”: The Emergence of Indigenous Nationalism in Non-Colonial Siam, 1850–1980,” (Master of Art thesis, Department of History, University of Wisconsin– Madison,1987).

Walker, Andrew, “Border in Motion on the Upper Mekong: Siam and France in 1890s” in Recherchesnouvellessur le Laos, (Paris: Ecolefrancaise d Extreme-Qrient, 2008).

Walker, Andrew, The Legend of the golden boat: regulation, trade and traders in the borderlands of Laos, Thailand, China, and Burma, (Honolulu: University of Hawaii Press, 1999).

Wolters, Oliver, History, Culture, and Region in Southeast Asian Perspectives, (New York: Cornell University Press, 1999), 16-17.

จิราภรณ์ สถาปนะวรรธนะ, วิกฤตการณ์สยาม ร.ศ.112 การเสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง, (กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2523).

จิราภรณ์ สถาปนะวรรธนะ, วิกฤตการณ์สยาม ร.ศ.112 การเสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง, (กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2523), 12.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ลัทธิชาตินิยมไทย/สยามกับกัมพูชา : และกรณีศึกษาปราสาทเขาพระวิหาร, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, 2552), 69.

ฐนพงศ์ ลือขจรชัย, “ระบบเขตแดนรัฐจารีตและการเปลี่ยนผ่านในสยาม,” ใน สยามเขตร : หลากหลายมิติ เขตแดนสยาม บรรณาธิการโดย ฐนพงศ์ ลือขจรขัย, (กรุงเทพฯ: illumination editions, 2565), 3-80.

ฐนพงศ์ ลือขจรชัย, ปลดแอกชาติ จากศักดินา-(ราชา)ชาตินิยม, (กรุงเทพฯ: มติชน, 2564), บทที่ 4 การทวง คืน “ชาติ” และ “กษัตริย์ประชาธิปไตย”.

ณัฐพล ใจจริง, ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ : ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ. 2475-2500), (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556).

ณัฐพล ใจจริง, ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2563).

ดี.จี.อี. ฮอลล์, ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, บรรณาธิการแปลโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, พิมพ์ครั้งที่ 3, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทยและมูลนิธิโครงการตำราฯ, 2549), 995-997.

เดวิด เค. วัยอาจ, ประวัติศาสตร์ไทยฉบับสังเขป, แปลโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และคณะ, (กรุงเทพ: มูลนิธิ โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2562), 201-208.

ธงชัย วินิจจะกูล, “เมื่อใด(รัฐ)ชาติไทยไม่ใช่ “ช้าง” ที่คลำได้ (ต่อให้ตาใสก็เถอะ)” ใน เมื่อใดจึงเป็นชาติ ไทย, บรรณาธิการโดย ฐนพงศ์ ลือขจรชัย และพิพัฒน์ พสุธารชาติ, (กรุงเทพฯ: illumination editions, 2564), 39-42.

ธงชัย วินิจจะกูล, “เสียดินแดน”เป็นประวัติศาสตร์หลอกไพร่ไปตายแทน (เพราะ “ไทย” ไม่เคยเสีย ดินแดน) ใน สยามประเทศไทย: ได้ดินแดน-เสียดินแดนกับลาวและกัมพูชา, บรรณาธิการโดย ชาญ วิทย์ เกษตรศิริ, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2556).

ธงชัย วินิจจะกูล, 6 ตุลา ลืมไม่ได้ จำไม่ลง, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2558), (14).

ธงชัย วินิจจะกูล, กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ, แปลโดย พวงทอง ภวัครพันธุ์, ไอดา อรุณวงศ์, พงษ์เลิศ พงษ์วนานต์, (กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ ร่วมกับ สำนักพิมพ์อ่าน, 2556), 232-233.

ธงชัย วินิจจะกูล, โฉมหน้าราชาชาตินิยม, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2559).

ธงชัย วินิจจะกูล, ประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง: ว่าด้วยประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556).

ธงชัย วินิจจะกูล. ออกนอกขนบประวัติศาสตร์ไทย, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2562), 87.

เบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน, “ศึกษารัฐไทย วิพากษ์ไทยศึกษา”, แปลโดย ดาริน อินทร์เหมือน, ใน เบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน, ศึกษารัฐไทย ย้อนสภาวะไทยศึกษา, (กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2558), 11.

ประจักษ์ ก้องกีรติ, และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชน ก่อน 14 ตุลาฯ, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556).

เพ็ญศรี ดุ๊ก, การต่างประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย (ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ถึงสิ้นสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม), พิมพ์ครั้งที่ 3 [แก้ไขและปรับปรุง], (กรุงเทพฯ: บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด, 2554), 55.

เพ็ญศรี ดุ๊ก, ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย (สยาม) กับประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตาม เอกสารของกระทรวงการต่างประเทศ, (กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2539), 28.

มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์, จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม, แปลโดย สัน ท.โกมลบุตร, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพฯ: ศรีปัญญา, 2552).

มานิจ ชุมสาย, ญวน-ไทย กับ เขมรและลาว (รวบรวมจากเอกสารกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาลของ ฝรั่งเศส), (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจริญผล, 2522), 45.

มิเชล ฟูโกต์, ระเบียบของวาทกรรม, แปลโดย ฐานิดา บุญวรรโณ, (กรุงเทพฯ: illumination editions, 2565).เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, แผนที่สร้างชาติ : รัฐประชาชาติกับการทำแผนที่หมู่บ้านไทยในยุคสงครมเย็น, (กรุงเทพฯ: Illumination Edition, 2561).

วอล์กเกอร์ คอนเนอ, “เมื่อใดจึงเป็นชาติ?” แปลโดย เก่งกิจ กิติเรียงลาภ ใน เมื่อใดจึงเป็นชาติ, พิพัฒน์ พสุ ธารชาติ (บรรณาธิการ), (กรุงเทพฯ: Illumination Edition, 2562).

วิจิตรวาทการ, รวมปาฐกฎา, พิมพ์ครั้งที่ 4, (กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา, 2518), 243-264.

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, พงศาวดารเรื่องไทยรบพม่า, พิมพ์ครั้งที่ 5, (กรุงเทพฯ: มติชน, 2555), 591.

สุวิทย์ ธีรศาศวัต, เบื้องลึกการเสียดินแดนและปัญหาปราสาทพระวิหารจาก ร.ศ. 112 ถึงปัจจุบัน, (กรุงเทพฯ: สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 2553).

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์, การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำไทย ตั้งแต่รัชกาลที่ 4-พ.ศ. 2475, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538), 34.

อรอนงค์ ทิพย์พิมล และ ธนศักดิ์ สายจำปา, “จากเส้น “แบ่งรัฐ” สู่เส้น “ร้อย (รัด) รัฐ”: หนึ่งศตวรรษแห่ง การปักปันเขตแดนไทย-มาเลเซีย (พ.ศ. 2453-2553),” ใน เขตแดนสยามประเทศไทย-มาเลเซีย- พม่า-ลาว-กัมพูชา (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราฯ, 2554), 18.

บทความ

The charge in Thailand (persons) to Department of State, 8 December 1953, in Foreign Relations of United State, 1952-1954 vol.12 , 699-700.

The Under Secretary of State (Smith) to the Ambassador in Thailand (Donovan), 25 January 1954, in Foreign Relations of the United States, 1952-1954 vol. 12, 704-705.

Wijeyewardene, Gehan} “The frontiers of Thailand” In National Identity and its defenders, Thailand 1939- 1989, Edited by Craig J. Reynolds, Monash papers on Southeast Asia #25, 159-190.

'เก่งกิจ-ธเนศ' ถกหนังสือ 'แผนที่สร้างชาติ: รัฐประชาชาติกับการทำแผนที่หมู่บ้านไทยในยุคสงครามเย็น', https://prachatai.com/journal/2018/04/76515 (สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม พ.ศ.2564).

เกษียร เตชะพีระ, “อ่าน Siam Mapped ในวาระ 41 ปี 6 ตุลา,” มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 6 - 12 ตุลาคม 2560, 54.

ธเนศ อาภรสุวรรณ, 'เก่งกิจ-ธเนศ' ถกหนังสือ 'แผนที่สร้างชาติ: รัฐประชาชาติกับการทำแผนที่หมู่บ้านไทย ในยุคสงครามเย็น', https://prachatai.com/journal/2018/04/76515 (สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม พ.ศ.2562).

ธงชัย วินิจจะกูล, “ธงชัย วินิจจะกูล: "เสียดินแดน" เป็นประวัติศาสตร์หลอกไพร่ไปตายแทน,” https://prachatai.com/journal/2011/02/33012 (สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม พ.ศ.2566).

สื่อออนไลน์

ผู้จัดการออนไลน์, หนังสือพิมพ์, วันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2561 http://gotomanager.com/content/

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง, Book Talk ถึงหนังสือ ‘ระเบียบของวาทกรรม’ ของมิเชล ฟูโกต์ ณ Facebook ของ Illuminations Editions วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม 2565 เวลา 14.00 น.-15.00 น., https://www.youtube.com/watch?v=qoCxj1t8PxQ (สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม พ.ศ.2565).

ธงชัย วินิจจะกูล, งาน เสวนา "วงศาวิทยาฟูโกต์ไทย" เนื่องในโอกาสเปิดตัวหนังสือ "อ่านวิพากษ์ มิเชล ฟูโกต์" โดยโครงการผลิตชุดตำรา “อ่านวิพากษ์” กลุ่มศึกษาทฤษฎี คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จัดโดย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ บริษัท เคล็ดไทย จำกัด ในวันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 10.00-15.00 น.ณ ห้องอเนกประสงค์ริมน้ำ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์, https://www.youtube.com/watch?v=beh6MCHCldg&t=1479s (สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2565).

ธเนศ วงศ์ยานนาวา, “เมื่อใดจึงไม่ค่อยจะเป็นรัฐประชาชาติ,” ใน งานเสวนาหนังสือ "When is the Nation? - เมื่อใดจึงเป็นชาติ" วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม 2562 เวลา 16.30-19.00 น. ณ ห้องสมุดรูฟุส ดี สมิธ และ ชำนาญ ยุวบูรณ์ ชั้น 3 ตึก 3 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, https://www.youtube.com/watch?v=4N2mS-JECvw (สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2562).

ธงชัย วินิจจะกูล, “เสวนา 20 ปี Siam Mapped” ในวันที่ 3 ตุลาคม 2558 | ห้องเอนกประสงค์ริมน้ำ ชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์, https://www.youtube.com/watch?v=Xf1UTjih1Zc (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2565).

งานเสวนาในหัวข้อ "จุดกำเนิดของระบอบเผด็จการอำนาจนิยมแบบไทยในยุคสมัยสงครามเย็น" จัดโดย ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ณ ห้อง 103 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันที่ 9 ตุลาคม 2563, https://www.youtube.com/watch?v=ah1GQWEbv0k.

ธงชัย วินิจจะกูล, “เสวนา 20 ปี Siam Mapped” ในวันที่ 3 ตุลาคม 2558 | ห้องเอนกประสงค์ริมน้ำ ชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์, https://www.youtube.com/watch?v=Xf1UTjih1Zc (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2565).