การปรับแก้การสนทนาในแบบเรียนสอนภาษาไทยสำหรับผู้เรียนต่างชาติ

Main Article Content

นริศา ไพเจริญ

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการศึกษาประเภทของการปรับแก้ในการสนทนาและกลวิธีการปรับแก้ที่ปรากฏในบทโต้ตอบจากแบบเรียนภาษาไทยสำหรับผู้เรียนต่างชาติ โดยอ้างอิงแนวคิดการวิเคราะห์บทสนทนา ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา คือ บทโต้ตอบในสถานการณ์การทักทาย-การแนะนำตัว การซื้อขายสินค้า การสั่งอาหาร การถามทาง และการสนทนาทางโทรศัพท์ จำนวน 386 บท จากแบบเรียนสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ 45 เล่ม ผลการศึกษาพบประเภทของการปรับแก้ในการสนทนาเพียงประเภทเดียว คือ ผู้ฟังเป็นผู้บอกถึงแหล่งปัญหาที่เกิดขึ้นจากผู้พูดเพื่อให้ผู้พูดแก้ไขข้อผิดพลาดนั้นด้วยตนเอง (other-initiated & self-repair) ส่วนกลวิธีการปรับแก้การสนทนาซึ่งคู่สนทนาใช้บ่งชี้และตรวจสอบแหล่งปัญหาที่พบในบทโต้ตอบ ได้แก่ 1) การพูดซ้ำส่วนที่เป็นปัญหาร่วมกับการใช้คำแสดงการถาม “ไหน” หรือ “ใช่ไหม” 2) การใช้ประโยคคำถาม 3) การใช้ประโยคขอร้อง และ 4) การใช้ถ้อยคำเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ

Article Details

How to Cite
ไพเจริญ น. (2020). การปรับแก้การสนทนาในแบบเรียนสอนภาษาไทยสำหรับผู้เรียนต่างชาติ. วรรณวิทัศน์, 20(1), 114–139. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2020.4
บท
บทความวิจัย

References

กรรณิการ์ ติยายน. (2537). Beginning Thai 1: Speaking. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นวลทิพย์ เพิ่มเกษร. (2551). ปัญหาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีนที่เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. วรรณวิทัศน์, 8(1), 146-159.

นันทา ทองทวีวัฒนา. (2562). การศึกษาปัญหาการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาต่างชาติมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. วรรณวิทัศน์, 19(1), 160-178.

วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2549). การพัฒนาหลักสูตรภาษาไทยเบื้องต้นสำหรับชาวต่างประเทศที่เน้นการเรียนรู้ตามสภาพจริง (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัย ขอนแก่น, ขอนแก่น.

ศูนย์การสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (มปป.).เอกสารประกอบการเรียน การพูดภาษาไทย.

สมปอง ศรีวิชัย. (2545). การพัฒนาหลักสูตรภาษาไทยเบื้องต้นสำหรับนักศึกษาต่างประเทศ มหาวิทยาลัยพายัพ. (การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนบัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์. (2557). ภาษาไทยเบื้องต้นสำหรับนักศึกษาจีน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

สุกัญญา ศุภพลกิจ. (2551). การสร้างหนังสือเตรียมความพร้อมทางภาษา สำหรับผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. (การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุนีย์ ลีลาพรพินิจ. (2561). การวิเคราะห์เปรียบเทียบด้านรูปแบบและเนื้อหาที่ปรากฏในแบบเรียนภาษาไทยสำหรับผู้เรียนชาวจีน. วรรณวิทัศน์, 18(1), 185-210.

สุรีวรรณ เสถียรสุคนธ์. (2554). การสอนภาษาไทยให้แก่นักศึกษาชาวจีน: สภาพ ปัญหา และแนวทางแก้ไข.วารสารมนุษยศาสตร์, 18(1), 127-140.

เสาวนีย์ ดำรงโรจน์สกุล และสุภา พูนผล. (2560). ปัญหาการออกเสียงและการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยให้นักศึกษาจีน. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 27(2), 31-40.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (พฤษภาคม 2562). สถาบันอุดมศึกษาในสังกัด. สืบค้นจาก http://www.mua.go.th/university-2.html.

อัครา บุญทิพย์. (2008). ภาษาไทยพื้นฐาน (2). ปักกิ่ง: ซื่อเจี้ยถูซูชูป่านกงซือ.

อดิสรณ์ ประทุมถิ่น. (2554). การสร้างแบบเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศระดับพื้นฐานสำหรับนักศึกษาชาวต่างชาติที่สถาบัน NUS Extension มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

อารีย์ลักษณ์ พันธุ์เขียน. (2549). การสร้างแบบเรียนภาษาไทยเบื้องต้นจากผู้หนีภัยสู้รบกะเหรี่ยงแดง. (การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

Jones, M., Kitetu, C., & Sunderland, J. (1997). Discourse Roles, Gender and Language Textbook Dialogues: Who Learns What from John and Sally? Gender and Education, 9, 469-490.

Khanittanan, W. (1999). An Introductory Course in Thai Language and Culture. Pridi Banomyong International College, Thammasat University.

Krisathian, W. (2012). The Occurrence of Repairs in Burmese Telephone Conversations betweenThai Call Center Operators and Burmese Customers. Journal of Language and Culture, 31(2), 93-121.

Luanwarawat, R. (2007). Progressive Thai. Bangkok: Orchid Press.

Moore, J., & Rodchue, S. (2005). Colloquial Thai: The Complete Course for Beginners. (2nd ed). New York, NY: Routledge.

Ponmanee, S. (2000). Speaking Thai. (2nd ed). Chiang Mai. Center for Teaching Thai as a Foreign Language, Faculty of Education, Chiangmai University.

Ronakiat, N. (2012). Beginning Thai. Thai Studies Program, Pridi Banomyong International College. Thammasat University.

Schegloff, E., Jefferson, G., & Sacks, H. (1977). The Preference for Self-Correction in the Organization of Repair in Conversation. Language, 53, 361-382.

Smyth, D. (1995). Thai: A Complete Course for Beginners (Teach Yourself). Chicago, IL: NTC Publishing Group.

Tuwayanonde, W. & Wallis, P. (1999). Learning Thai: Just Enough to Get by and More. Bangkok: Asia Books.

Wong, J., & Waring, H. (2010). Conversation Analysis and Second Language Pedagogy: A Guide for ESL/EFL Teachers. New York, NY: Routledge.

Wongkhat, P. (2012). Repair in Thai Conversation: A Case Study of the 94.0 EFM Radio Hosts. Journal of Language and Culture, 31(2), 67-92.