ภาษาและทัศนสัญญะในอินโฟกราฟิกเกี่ยวกับโควิด 19 ในประเทศไทย

Main Article Content

พรปวีณ์ มากนวล
จันทิมา อังคพณิชกิจ

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาวิธีการทางภาษาและทัศนสัญญะที่ใช้สื่อความหมายในอินโฟกราฟิกเกี่ยวกับโควิด 19 ในประเทศไทย โดยรวบรวมจากอินโฟกราฟิกที่เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของกรมควบคุมโรคและเพจเฟซบุ๊กของศูนย์ข้อมูล COVID-19 กรมประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่มกราคม 2563 - ตุลาคม 2565 ผลการศึกษาพบว่า วิธีทางภาษาที่ใช้ในการสื่อสารเกี่ยวกับโควิด 19 ได้แก่ การสร้างศัพท์และการใช้ชื่อเรียก การใช้อุปลักษณ์ การใช้กลวิธีทางวาทศิลป์การแสดงเจตนา และการเรียงลำดับเวลา ส่วนองค์ประกอบด้านทัศนสัญญะ ได้แก่ การใช้สี ลักษณะอักษร ภาพประกอบ และการจัดวางองค์ประกอบ ส่วนรูปแบบการนำเสนอเปลี่ยนไปตามสถานการณ์การแพร่ระบาด นอกจากนี้ยังนำเสนอเนื้อหามุ่งไปที่บุคคลเฉพาะกลุ่มด้วย ทำให้อินโฟกราฟิกมีลักษณะหลายภาษา และมีทัศนสัญญะบ่งชี้บุคคลเฉพาะกลุ่มเหล่านั้น เป็นการสื่อสารเพื่อการป้องกันการระบาดของโรคให้ตรงกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค. (27 มกราคม 2563ก). มารู้จัก...ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/img/infographic/info14.jpg

กรมควบคุมโรค. (6 กุมภาพันธ์ 2563ข). หน้ากากอนามัยใส่อย่างไรให้ถูกต้อง https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/img/infographic/info19.jpg

กรมควบคุมโรค. (8 กุมภาพันธ์ 2563ค). ข้อมูลสำหรับบริษัททัวร์/หัวหน้าทัวร์/มัคคุเทศก์. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/img/infographic/info17_new1.jpg

กรมควบคุมโรค. (14 มีนาคม 2563ง). ป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 ด้วย...ล้าง เลี่ยง ลด. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/img/infographic/info_01_14032020.jpg

กรมควบคุมโรค. (21 ธันวาคม 2563จ). ล้างมืออย่างไรให้สะอาด ภาษาไทยและพม่า. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/img/infographic/info_samusakhon_5.jpg

กรมควบคุมโรค. (19 เมษายน 2564ก). มาตรการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อควบคุมการระบาดของCOVID-19. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/img/infographic/info48.jpg

กรมควบคุมโรค. (28 กรกฎาคม 2564ข). ผู้ป่วย 3 สี มีอาการอย่างไรบ้าง. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/img/infographic/info54.jpg

กรมควบคุมโรค. (1 ตุลาคม 2565). ปรับมาตรการป้องกันโรคและการคัดกรองด้วย ATK. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/img/infographic/info68.jpg

กองระบาด และกองโรคไม่ติดต่อ. (ธันวาคม 2564). รายงานผลการทบทวนสถานการณ์โรคโควิด-19 และมาตรการควบคุมป้องกันในระดับโลก และในประเทศไทย. http://www.thaincd.com/document/file/download/knowledge/COVID19.65.pdf

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ. (16 มกราคม 2565). กลุ่ม 608 คือกลุ่มคนที่ต้องได้รับการวัคซีนป้องกันโควิด-19 มากที่สุด. https://multimedia.anamai.moph.go.th/anamai-toons/covid-vaccine-4/

กำพล แสวงบุญสถิต. (2565). สื่อสุขบัญญัติต้านภัยโควิด-19: วาทกรรมพหุรูปแบบและบทบาท. วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต, 18(1), 51-70.

ไกรวิทย์ สุขวิน. (2564). ระบายออกสื่อ: เพลงหนังตะลุงสะท้อนสังคมในช่วงโควิด 19. จันทรเกษมสาร, 27(2), 333-352.

คณปกรณ์ จันทร์สมบูรณ์. (2564). เพลงและการแสดงพื้นบ้านภาคกลาง : บทบาทและการนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับมหันตภัยโควิด-19. วารสารข่วงผญา, 15(2), 55-87.

โควิด ระบาดในไทย ระลอก 5 ยุค “โอมิครอน” กำลังครองเมือง. (7 มกราคม 2565). ไทยรัฐออนไลน์. https://www.thairath.co.th/scoop/infographic/2282636

จักรภัทร เครือฟัก และ รุจโรจน์ แก้วอุไร (2564). สื่ออินโฟกราฟิกกับการเผยแพร่ข้อมูลเพื่อรับมือกับภาวะวิกฤติโควิด 19. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 17(1), 47-66.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2561). การวิเคราะห์ข้อความ Discourse analysis (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นิตยา แก้วคัลณา. (2565). เรียนรู้วิกฤติสาธารณภัยโควิด-19: บันทึกอารมณ์และความคิด ผ่านการสืบสรรค์วรรณศิลป์ในบทเพลงไทยร่วมสมัย. วารสารศิลปศาสตร์, 22(1), 157-185.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563. (29 กุมภาพันธ์ 2563). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 137 ตอนพิเศษ 48 ง. หน้า 1.

ภาณุดา วงศ์พรหม. (2563). ไวรัสมหาภัย เชื้อโรคมรณะ. พี.เอ.ลีฟวิ่ง.

วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. (28 มกราคม 2564). หวาดกลัว กลัดกลุ้ม ปลุกปลอบ และปลดปล่อย: มองมนุษย์และสังคมไทยในสถานการณ์โรคระบาด ผ่านการ์ตูนไทยในสื่อสังคมออนไลน์. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. https://www.sac.or.th/databases/sac_research/article-detail.php?articleID=168

วิชัย โชควิวัฒน. (2564). โควิด-๑๙ มหันตภัยเขย่าโลก. เสมสิกขาลัย. ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (17 มีนาคม 2563ก). สรุปสถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 ในประเทศไทย (ระลอกที่ 1) [Image attached] [Status update]. Facebook. https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0FZab6ufiCbey4GkaU4ekHF5SCZcPFcKdRKtmGYyhtx9wBHTgAimMURgaXNcknZfgl?_rdc=2&_rdr

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (22 เมษายน 2563ข). วันนี้ผู้ป่วยใหม่ 15 รายเป็นใคร? [Image attached] [Status update]. Facebook. https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0Ygu9xPWCwZaynXx4jSZQx4z2q1XUwyKovcHTrRuH86vb6xeu7Rftyzr1ZLL2WPMGl

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (18 พฤษภาคม 2563ค). ปรับสักนิด พิชิตโควิด-19 [Image attached] [Status update]. Facebook. https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0JzZ8UE89XdxgpwgGD61xBx98BzVF7TBFPWfZ7nriUXBMyhQUVTLxYyriwH9gVe5vl

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (7 มกราคม 2564ก). เกาะติดยอดผู้ติดเชื้อ COVID-19 ประจำเดือนมกราคม 2564 [Image attached] [status update]. Facebook. https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0ZdHyZ5bahcXwrNQUJCk7D2YzwpM9ceyfG3jFZrnM7KSpiMZZ1DNPeazuvASLrGB9l

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (20 มกราคม 2564ข). ยอดผู้ติดเชื้อ COVID-19 ประจำเดือนมกราคม 2564 [Image attached] [status update]. Facebook. https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0TNVospNGfCdPf8fovXMJGSDMUPLApg4wfe6NKWx6Lan37qV2FEcrbaqGdaD4WyDSl

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (27 มกราคม 2564ค). ยอดผู้ติดเชื้อ COVID-19 ประจำเดือนมกราคม 2564 [Image attached] [status update]. Facebook. https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid025UVVmmeyDU4ZbMBctRpXkcrMquTfcufRd3hU3Yv8Cocw6TeouXhPqchhzoeJ9Nm5l

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (9 เมษายน 2564ง). เปิดไทม์ไลน์ พล.ท.สรรเสริญ แก้วกำเนิด [Image attached] [status update]. Facebook. https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02sx24CfW27USit4NnzQCtJaME3iSF8tHZY3JLPMWVNnwfKq3Rzi8jofZjfwty74JQl

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (3 กรกฎาคม 2564จ). Timeline การนำเข้าวัคซีน Moderna [Image attached] [status update]. Facebook. https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0xggfjJUfunTd7gcpTWsn7inaup2qS1pTkZxT3AatSHsFcTLQfwTkrqtZPTiKQSLal

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (11 มกราคม 2565ก). สรุปสถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 ในประเทศไทย(ระลอกที่ 5) [Image attached] [status update]. Facebook. https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0344b7rc29RUaXPFBKg3DqXB8WjRVfBsZEMutvkWcxXCx4NovpHkjuiVJ2r8cALzHal?_rdc=1&_rdr

ศูนย์ข้อมูล COVID-19. (9 ตุลาคม 2565ข). เกาะติดยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 2 - 8 ตุลาคม 2565(ระลอกที่ 6) [Image attached] [status update]. Facebook. https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02vgRFQ7PReLMpptdDjnNPfxL5iYoB9XehpwjKG66AtnNEnBEYfTBhuDhjgeBAofRbl

สราวุฒิ ทองศรีคำ. (กันยายน 2564). การจัดทำสื่อ Infographic เพื่อการประชาสัมพันธ์ ในสื่อสังคม ออนไลน์. https://www.smartauditor.cad.go.th/uploads/content_vdo/attach/1novb8w88olyf1n_Infographics%20อ.pdf

สิโรดม มณีแฮด และ สรัญญา เชื้อทอง. (2563). การสื่อสารสุขภาพของกรมควบคุมโรคโดยใช้การเล่าเรื่องด้วยสื่ออินโฟกราฟิกในสถานการณ์โควิด-19. วารสารการสื่อสารมวลชน, 8(2), 91-119.

สุพรรษา ภักตรนิกร. (2565). วาทกรรม “โควิด 19” ในการ์ตูนขายหัวเราะ ชุด“KnowCovid : รู้ทัน โควิด”: สื่อเผยแพร่อุดมการณ์รัฐ. วารสารศิลปศาสตร์, 22(1), 124-156.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (23 สิงหาคม 2562). Infographics อินโฟกราฟิกส์. [Status update]. Facebook. https://www.facebook.com/RatchabanditThai/photos/a.2527569647301115/2544010825656997

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (22 เมษายน, 2563). โควิด 19 (COVID-19) ออกเสียงว่า “โค-หฺวิด” หรือ “โค-วิด” [status update]. Facebook. https://www.facebook.com/RatchabanditThai/posts/3067241353333939/

Yong Poovorawan. (14 กรกฎาคม 2565). โควิด 19 การระบาด ระลอกนี้เป็นระลอกที่ 6 [Status update]. Facebook. https://www.facebook.com/yong.poovorawan/posts/pfbid02JZ7NrRrCfddS1vtYjjm1NYeE5WFynNKhyseM4NChJn4obLzYc7E6GcrZJdn6eKArl

Albufalasa, M. I., & Gomaa, Y. A. (2022). Genre analysis of daily COVID-19 infographic reports in the Arabian Gulf: The case of the Kingdom of Bahrain. JELTL (Journal of English Language Teaching and Linguistics), 7(1), 197-216.

Ashton, D. (2013). The 9 types of infographics that get shared the most online. NeoMam Studios. https://neomam.com/infographics/the-8-types-of-infographic

Halliday, M. A. K. (1978). Language as Social Semiotic: the social interpretation of language and meaning. Edward Arnold.

Hussein, A. T., & Aljamili, L. A. (2020). COVID-19 humor in Jordanian social media: A socio-semiotic approach. Heliyon, 6, Article e05696, 1-12.

Jacob, R. (2020). Visualising global pandemic: a content analysis of infographics on Covid-19. Journal of Content, Community & Communication, 11(6), 116-123. https://doi.org/10.31620/JCCC.06.20/09

Kress, G., & van Leeuwen, T. (2001). Multimodal Discourse: the modes and media of contemporary communication. Arnold.

Kress, G., & van Leeuwen, T. (2006). Reading Images: The grammar of visual design (2nd ed.). Routledge.

Nugraha, I. S., & Haq, A. S. (2021). Social stigma of Covid-19: a semiotic analysis of WHO campaign posters. SOSHUM Journal of Social Sciences and Humanities, 11(2), 155-168.

Siricharoen, W. V., & Siricharoen, N. (2015). How infographics should be evaluated? In Proceedings of the 7th International Conference on Information Technology (ICIT 2015) (pp. 558, 564). https://doi.org/10.15849/icit.2015.0100

Suleiman, O. H. (2022). Using infographics as communicative tools during Covid-19 pandemic in Egypt: an analytical study. Journal of Design Sciences and Applied Arts, 4(1), 46-59.

Thatcher, B. (14 November 2012). An overview of infographics. Illinois Central College Teaching & Learning Center. https://www.slideshare.net/slideshow/an-overview-of-infographicsv5-0-15179863/15179863