พินิจภาษาภาพในพงศาวดารมอญเรื่องราชาธิราช

Main Article Content

นิตยา แก้วคัลณา

บทคัดย่อ

วรรณกรรมแปลจากพงศาวดารรามัญหรือมอญเรื่องราชาธิราชร้อยเรียงไว้ด้วยถ้อยคำไพเราะ งดงามและอลังการด้วยวิธีการใช้ภาษาภาพอันก่อให้เกิดจินตภาพ ถึงแม้ว่าจะเป็นวรรณกรรมที่มีที่มาจากต่างประเทศ แต่ก็ได้รับการ "แปล" ให้เป็นวรรณกรรมที่มี "บริบท" เป็นไทย ยังคงใช้ภาษาภาพเป็นสื่อแสดงการเปรียบเทียบ สื่อคำสอนและคติความเชื่อตามวิถีไทย

Article Details

How to Cite
แก้วคัลณา น. (2016). พินิจภาษาภาพในพงศาวดารมอญเรื่องราชาธิราช. วรรณวิทัศน์, 1, 40–54. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2001.3
บท
บทความประจำฉบับ

References

กุสุมา รักษมณี. "วรรณคดีร้อยกรองกับบริบททางสังคม และความนิยมของยุคสมัย," วารสารอักษรศาสตร์ ๒๐ (มิถุนายน ๒๕๔๐ - พฤษภาคม ๒๕๔๑), ๓๔.

ดวงมน จิตร์จำนงค์. คุณค่าและลักษณะเด่นของวรรณคดีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐.

ทองสุก เกตุโรจน์. อธิบายศัพท์วรรณคดี. แปลจาก A Glossary of Literary Terms ของ M.H. Abrams. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ ๒๕๒๙.

ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ ๑ จารึกสุโขทัย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๑๕.

พระคลัง (หน), เจ้าพระยา. (ผู้แปล). ราชาธิราช. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา, ๒๕๑๒.

พิทยลาภพฤติยากร, พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่น. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงฟื้นฟูวัฒนธรรม. จัดพิมพ์โดยสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๕.

วินิดา ดิถียนต์. วรรณคดีวิจารณ์. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๗. (อัดสำเนา)

ศิลปากร, กรม. วรรณกรรมสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๓๙.